ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการรับรู้การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์นายจ้างและความผูกพันของพนักงานธุรกิจอุตสาหกรรมในจังหวัดเพชรบุรี
คำสำคัญ:
การจัดการความปลอดภัย , การจัดการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม , ภาพลักษณ์นายจ้าง, ความผูกพันของพนักงานบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและตรวจสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการรับรู้การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์นายจ้างและความผูกพันของพนักงาน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นพนักงานธุรกิจอุตสาหกรรมในจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการรับรู้การจัดการความปลอดภัย การจัดการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ภาพลักษณ์นายจ้างและความผูกพันของพนักงานอยู่ในระดับมาก 2) การรับรู้การจัดการความปลอดภัยมีอิทธิพลเชิงบวกต่อภาพลักษณ์นายจ้าง การรับรู้อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงานมีอิทธิพลเชิงบวกต่อภาพลักษณ์นายจ้างและความผูกพันของพนักงาน นอกจากนี้ยังพบว่าภาพลักษณ์นายจ้างมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความผูกพันของพนักงาน และ 3) โมเดลสมการโครงสร้างของความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการรับรู้การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์นายจ้างและความผูกพันของพนักงานตามทฤษฎีสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนีวัดความสอดคล้องดังนี้
CMIN/df=1.766, GFI=0.960, NFI=0.977, CFI=0.990, RMSEA=0.044 และ RMA=0.015 ผู้บริหารในจังหวัดเพชรบุรีสามารถนำผลการวิจัยไปเป็นแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดการเพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้น
References
กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2558). การจัดทำรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558 (2558, 21 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 132 ตอนพิเศษ 193 ง. หน้า 8-10.
กระทรวงแรงงาน. (2554). พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554. สืบค้น 15 พฤษภาคม 2565, จาก https://legal.labour.go.th/images/law/Safety2554/6/s_3001.pdf
กฤษฎา ชัยกุล, มลินี สมภพเจริญ, ประกาศ บุตตะมาศ และไชยนันท์ แท่งทอง. (2562). แนวทางการขับเคลื่อนความปลอดภัยในการทำงานและความเชื่อมโยงสู่การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย. สืบค้น 4 มีนาคม 2564, จาก https://www.tosh.or.th/index.php/blog/item/571-bbs
เขมมารี รักษ์ชูชีพ, นภดล วงษ์น้อม และวงพักตร์ ภู่พันธ์ศรี. (2561). อาชีวอนามัยต่อความปลอดภัยในที่ทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย. (รายงานการวิจัย). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
จรัสศรี วัฒนจัง, พนิดา วัฒนภิโกวิท และชุติมา พลังวิทย์วัฒนา. (2551). Employer Branding ต่อการสรรหา. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จิระพงค์ เรืองกุน. (2557). การสร้างแบรนด์นายจ้าง: กลยุทธ์การดึงดูดและรักษาผู้มีความสามารถสูง. วารสารวิทยาการจัดการ, 31(2), 187-209.
เฉลิมชัย ใยมุง. (2562). ประสิทธิผลการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมกรณีศึกษา บริษัทก่อสร้างแห่งหนึ่ง โครงการเปลี่ยนฉนวนหุ้มท่อส่งก๊าซในจังหวัดชลบุรี (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ชาคร ชัยประเดิมศักดิ์. (2562). ประสิทธิภาพการบริหารความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานบริษัท รอนด้า (ประเทศไทย) จำกัด. สืบค้น 4 มีนาคม 2565, จาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/sun17/6214070127.pdf
ชลิตพันธ์ บุญมีสุวรรณ. (2563). ความผูกพันของพนักงานต่อองค์การ: แนวทางสู่ความสำเร็จ. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 12(1), 197-207.
ตฤณ ทิพย์สุทธิ์, กัลยา มั่นล้วน และทรงกรฎ ศฤงคาร. (2564). การป้องกันการบาดเจ็บจากการทํางานสําหรับพนักงานทั่วไป. วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(3), 230-238.
ทิวาพร สุระพล. (2560). การวิเคราะห์การจัดการอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาบริษัท ปิโตรเคมีและการกลั่นแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ธนรัฐ นาทอง. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานธนาคารออมสินภาค 5 (การค้นคว้าอิสระปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธีรารัตน์ ชื่นศิริกุลชัย. (2565). มาตรฐานระบบคุณภาพการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ISO 18000. สืบค้น 16 พฤษภาคม 2565, จาก http://old-book.ru.ac.th/e-book/g/GM411(47)/gm411-11.pdf
นิคม โชติพันธ์ และศิริพงษ์ โสภา. (2563). มาตรการกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานภาคอุตสาหกรรม. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 6(1), 550-573.
นิดาขวัญ ร่มเมือง. (2554). ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร กรณีศึกษา: โรงเรียนธิดาแม่พระ จังหวัดสุราษฏร์ธานี (วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต). นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
ประสพชัย พสุนนท์. (2558). ความเที่ยงตรงของแบบสอบถามสำหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 8, 375-396.
ปัญญา ภูวิชิต และบุญญรัตน์ สัมพันธ์วัฒนชัย. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การบริหารความปลอดภัยขององค์กรและพฤติกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานของคนงานก่อสร้างในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดระยอง. วารสารสุทธิปริทัศน์, 31(99), 79-92.
ปิติวัตติ์ ปิติพรภูวพัฒน์. (2563). แรงจูงใจในความภักดีของพนักงานในเครือบริษัท ไทยรัฐออนไลน์และไทยรัฐทีวี. วารสารเกษมบัณฑิต, 21(1), 134-145.
วรากร ช่วยสกุลและฐิติรัตน์ ถาวรสุจริตกุล. (2565). การจัดการความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เขตพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก. วารสารบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม, 4(1), 60-73.
ศุภชัย รุ่งเจริญสุขศรี. (2558). การศึกษาความผูกพันในองค์กร การพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ และความพึงพอใจในสวัสดิการพนักงาน ส่งผลต่อความจงรักภักดีของพนักงานระดับปฏิบัติการของบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบุรี. (2565). สำมะโนอุตสาหกรรม พ.ศ.2560 จังหวัดเพชรบุรี. สืบค้น 12 เมษายน 2565, จาก http://www.nso.go.th/
สำนักงานแรงงานจังหวัดเพชรบุรี. (2563). รายงานสถานการณ์และดัชนีชี้วัดภาวะแรงงานจังหวัดเพชรบุรี ไตรมาส 4 ปี 2563. สืบค้น 18 สิงหาคม 2565, จาก http://phetchaburi.mol.go.th/
สุธาทิพย์ รองสวัสดิ์. (2554). ปัจจัยการรับรู้เรื่องความปลอดภัยในการทำงานที่มีผลต่อพฤติกรรมในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ ประจำการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จ.เชียงใหม่ (การศึกษาเฉพาะบุคคลบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
สุภเชษฐ์ เล็กคมแหลม, ธัญนันท์ บุญอยู่ และมนสิชา สุจิตบวรกุล. (2564). อิทธิพลคั่นกลางของความผูกพันของพนักงานที่เชื่อมโยงระหว่างภาพลักษณ์ของผู้ประกอบการสู่พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับในอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(1), 210-221.
สุมาลี แสงสว่าง และปิยนุช รัตนกุล. (2560). การศึกษาความคาดหวังและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรมหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย, 4, 56-66.
สุรชัย ตรัยศิลานันท์. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้การจัดความปลอดภัยของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมพลาสติกในจังหวัดนครราชสีมา (วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
โสภิดา เปรมพงษ์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ การมีส่วนร่วมกับการยอมรับการปรับ โครงสร้างองค์การ: กรณีศึกษา ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Berthon, P., Ewing, M., & Hah, L. L. (2005). Captivating company: Dimensions of attractiveness in employer branding. International Journal of Advertising, 24(2), 151-172. doi:10.1080/02650487.2005.11072912
Burawat, P. (2014). The relationships among perceived employer branding, employee engagement, and employee expectation in service industry. International Business Management, 9(4), 554-559.
Cronbach, L. J. (1970). Essentials of psychological testing (3rd ed.). New York: Harper and Row.
Fornell, C., & Larcker, D. F. (1981). Evaluating structural equation models with unobservable variables and measurement error. Journal of Marketing Research, 18(1), 39-50.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). New York: Pearson.
Hair, J. F., Hult, G. T. M., Ringle, C. M., & Sarstedt, M. (2014). A primer on partial least squares structural equation modeling (PLS-SEM). California, CA: Sage.
Khan, S. M., & Sharma, D. (2020). Organizational climate: Review. UGC Care Journal, 40(74), 1946-1957.
Li, Y. P., & Mahadevan, A. (2017). A study on the impact of organisational climate on employee performance in a Malaysian consultancy. International Journal of Accounting & Business Management, 5(1), 1-13.
Michal, M., & Katerina, M. (2018). Employer brand building: Using social media and career websites to attract generation Y. Economics & Sociology, 11(3), 171-189.
Peter, A. B. (2016). The impact of authentic leadership behavior on employee engagement and organizational ethical culture in Nigeria. Texas: Texas at Tyler University.
Sakshi, G., Jaya, B., & Shahid, M. (2021). Employer brand experience and organizational citizenship behavior: Mediating role of employee engagement. Asia-Pacific Journal of Business Administration, 13(3), 357-382.
Steers, R. M. (1997). Antecedents and Outcomes of Organization Commitment. Administrative Science Quarterly, 22(1), 46-56.
Stevens, J. (2009). Applied multivariate statistics for the social sciences (5th ed.). New York: Taylor & Francis Group.
Valmikam, V., & Srikrishna, G. (2017). A study on employee engagement, organizational citizenship behavior in organizations
with reference to fringe benefits. International Journal & Magazine of Engineering, Technology, Management and Research, 4(6), 562-565.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บทความที่ลงพิมพ์ใน วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ถือว่าเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน คณะบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง