การประชาสัมพันธ์ทางการตลาดผ่านเซเลบริตี้บนอินสตาแกรม ของสินค้าลักชัวรี่แบรนด์เนมในประทศไทย

ผู้แต่ง

  • ภูรดา ประเสริฐศรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • วนาวัลย์ ดาตี้ คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ธนพร บัวรอด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • สรียาภรณ์ ประเสริฐศรี คณะโลจิสติกส์และดิจิทัลซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

การประชาสัมพันธ์ทางการตลาด , ลักชัวรี่แบรนด์เนม , เซเลบริตี้

บทคัดย่อ

วิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการนำเสนอและเนื้อหาสารประชาสัมพันธ์ ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้รับสารที่มีต่อการประชาสัมพันธ์ทางการตลาดผ่านเซเลบริตี้บนอินสตาแกรมของสินค้าลักชัวรี่แบรนด์เนมในประทศไทย เป็นระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าลักชัวรี่ของแบรนด์เนม จำนวน 414 คน และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาอินสตาแกรมของเซเลบริตี้ไทยที่มีจำนวนผู้ติดตามผ่านอินสตาแกรมมากที่สุด 5 อันดับในประเทศไทย ผลการวิจัย พบว่าภาพเซเลบริตี้ที่เสนอผ่านอินสตาแกรมของเซเลบริตี้ มีรูปแบบการนำเสนอภาพที่แสดงถึงวิถีการดำเนินชีวิต (Lifestyle) ของเซเลบริตี้ผ่านอินสตาแกรมของเซเลบริตี้ และอินสตาแกรมของนิตยสาร โดยใช้ แฮชแทค แทค และการเช็คอินสถานที่จัดจำหน่ายสินค้าเป็นหลัก ส่วนผลการสำรวจระดับความคิดเห็นในเรื่องทัศนคติที่มีต่อกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ทางการตลาดผ่านเซเลบริตี้บนอินสตาแกรมนั้น พบว่าผู้รับสารมีระดับความคิดเห็นเรื่องทัศนคติในระดับเห็นด้วยอย่างมาก ทั้งด้านความคิด (gif.latex?\bar{x}=4.14)  ความรู้สึก (gif.latex?\bar{x} =3.88) และการกระทำ (gif.latex?\bar{x} =3.76) และผลการสำรวจพฤติกรรมของผู้รับสารพบว่า ผู้รับสารยังมีระดับพฤติกรรมในระดับรับรู้ (gif.latex?\bar{x} =1.37) และสนใจ   (gif.latex?\bar{x} =1.59) ในกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ทางการตลาดผ่านเซเลบริตี้บนอินสตาแกรม

 

Author Biographies

ภูรดา ประเสริฐศรี, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

 

 

วนาวัลย์ ดาตี้, คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร

 

 

ธนพร บัวรอด, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

 

 

 

สรียาภรณ์ ประเสริฐศรี, คณะโลจิสติกส์และดิจิทัลซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยนเรศวร

 

 

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2549). สถิติสำหรับงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จักรพงษ์ คงมาลัย. (2558). คุณสมบัติของผู้ทรงอิทธิพลบนโลกออนไลน์. สืบค้น 10 ธันวาคม 2558, จาก http://thumbsup.in.th/2015/07/definition-of-online-influencer/&day=2006/11/27

ณัฏฐา อุ่ยมานะชัย และธิดา ตันพงศธร. (2555). อินสตาแกรมในการตลาดแบบบอกต่อ. วารสารนักบริหาร, 32(4), 145-151.

ณัฏฐ์หทัย เจิมแป้น. (2558). การโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์สก๊อตของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ธีรภัทร์ ศุจิจันทรรัตน์. (2555). การเปิดรับสื่อการตลาดแบบบูรณาการ ความไว้วางใจ และคุณค่าตราสินค้าที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค กรณีศึกษาตราสินค้าแอปเปิล (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ภัสราพร รัตนชาติ. (2557). ภาพลักษณ์ความน่าเชื่อถือของบุคคลที่มีชื่อเสียงและกลยุทธ์การค้าปลีกที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางบนห้างสรรพสินค้าของผู้หญิงวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสุทธิปริทัศน์, 28(88), 385-407.

วรรณพร ภุชชงค์. (2556). ผลของการประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดโดยบุคคลมีชื่อเสียงผ่านอินสตาแกรมในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุทธิชัย ปัญญโรจน์. (2559). Celebrity Marketing. Markerter คุณก็ทำได้. TPA News, 239, 47-48.

Asad, R., & Syed, A. J. (2016). Influence of Income and Occupation on Consumers' Susceptibility to Reference Group Demands on Brand Choice Decisions. International Review of Management and Marketing, 6(2), 376-382.

Danziger, P. M. (2005). Let them eat cake: Marketing luxury to the masses. USA: A Kaplan Professional.

Harris, T. L., & Whalen, P. T. (2006). The marketer's guide to public relations in the 21st century. OH: Thomson Higher Education.

Kapferer J. N., & Bastien, V. (2009). The Luxury Strategy Break the rules of marketing to build luxury brands. Cornwall: MPG Books Ltd, Bodmin.

Kent, L. M., & Taylor, M. (2010). Anticipating socialization in the use of social media in publicRelations: A content analysis of PRSA’s public relations tactics. Public Relations Review, 36, 207-214.

Kotler, P. (1999). Kotler on marketing: How to create, win, and dominate markets. NY: Free Press.

Marketing School. (2016). Celebrity marketing. Marketing-school.org. Retrieved February 11, 2016, from http://www.marketing-schools.org/types-of-marketing/celebrity-marketing.html

Milaković, L. K. & Mihić, M. (2015). Predictors and outcome of attitudes toward advertising: Demographics, Personal factors and WOM. Ekonomska misao i praksa, 2, 409-432

Munn, N. L. (1965). The evolution and growth of human behavior (2nd ed.). Boston:Houghton Mifflin.

Scott, D. M. (2010). The new rules of marketing and PR: how to use news releases, blogs, podcasting, viral marketing, & online media to reach buyers directly.NJ: John Wiley & Sons.

Shimp, T. A. (1997). Advertising, promotion and supplemental aspects of integrated marketing communications (4th ed.) Orlando, FL: Dryden

Srinivasan, R., Srivastava, R. K., & Sandeep B. (2014). Impact of occupation on purchase behavior of luxury brands. International Journal of Advances in Engineering and Management (IJAEM), 1(5), 33 – 44.

Sugiyama, K., Andree, T., & The Dentsu Cross Switch Team. (2012). The dentsu way. กรุงเทพฯ: เนชั่นบุ๊คส์.

Taylor, M. (2018). 10 Marketing strategies for luxury brands that deliver results. Ventureharbour. Retrieved March 6, 2019, from https://www.ventureharbour.com/luxury-brand-digital-marketing/

Zhurgenova, D., Yin-Fah, B., & Huey Wern, W. (2014). A Study on Luxury and Non-Luxury Product Purchasing Intention by Sexual and Non Sexual Appeal Marketing Strategies. Asian Journal of Management Cases, 2, 433-438.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-10

How to Cite

ประเสริฐศรี ภ. ., ดาตี้ ว. ., บัวรอด ธ. ., & ประเสริฐศรี ส. . (2023). การประชาสัมพันธ์ทางการตลาดผ่านเซเลบริตี้บนอินสตาแกรม ของสินค้าลักชัวรี่แบรนด์เนมในประทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 5(1), 95–113. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmspsru/article/view/263708