ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการการเงินส่วนบุคคลด้วยแอปพลิเคชันธนาคารในจังหวัดมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • ณัทฐาพร ภู่ระหงษ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

คำสำคัญ:

ความตั้งใจใช้บริการ , บริการการเงิน , แอปพลิเคชันธนาคาร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการการเงินส่วนบุคคลด้วยแอปพลิเคชันธนาคารในจังหวัดมหาสารคาม ได้ดำเนินการวิจัยโดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการธนาคารในจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 385 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยการใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ  ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านทัศนคติและปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์ ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการการเงินส่วนบุคคลด้วยแอปพลิเคชันธนาคารในทิศทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

กนกกาญจน์ เสน่ห์ นมะหุต. (2561). การวิเคราะห์การยอมรับการใช้บริการธนาคารดิจิทัลโดยใช้ทฤษฎีการแพร่กระจายนวัตกรรม. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 24(2), 43-64.

คุณิตา เทพวงค์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้แอปพลิเคชัน Bualuang mBanking ของลูกค้าธนาคารกรุงเทพในเขตจังหวัดชลบุรี. สหศาสตร์ศรีปทุมชลบุรี, 2(1), 1-9.

ณัฐธนินทร์ แสงประเสริฐ, ศรัณย์ธร ศศิธนากรแก้ว และวราพรรณ อภิศุภะโชค. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การยอมรับและพฤติกรรมการใช้งานแอปพลิเคชันเป๋าตัง. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 9(4), 245-259.

ณัฐพล สุทธิศักดิ์ศรีม. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่าน Mobile Banking ของธนาคารออมสินในเขตราชบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เดชาพล สวนสุข. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านแอพพลิเคชั่นมายโม่เพย์ของธนาคารออมสินในเขตพญาไท กรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2564). ธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Mobile Banking และ Internet Banking. สืบค้น 27 สิงหาคม 2565, จาก https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/ReportPage.aspx?reportID=949&language=th

นัฐพล รักษา. (2561). การรับรู้และทัศนคติที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้งของลูกค้าธนาคารกรุงเทพสาขาเอ็กเชนทาวเวอร์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 2 (น. 44). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

นันท์นภัส สายทองแท้. (2562). ความตั้งใจใช้งานแอปพลิเคชันทางการเงินที่ยืนยันตัวตนโดยกระบวนการรู้จักลูกค้าผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์. วารสารระบบสารสนเทศด้านธุรกิจ, 5(4), 59-77.

นันท์สินี มุ่นเชย, สุนันท์ ธาติ และศุภเชษฐ์ กันทะณีย์. (2563). การออกแบบและพัฒนาส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งานสําหรับแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่แนะนําการท่องเที่ยวเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจการท่องเที่ยวภายใต้โครงการเรารักเชียงใหม่ (We love Chiang Mai). วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2(2), 1-12.

ปวิตรา สอนดี. (2560). การยอมรับนวัตกรรมโมบายแบงค์กิ้งแอพพลิเคชั่นของกลุ่มผู้ใช้งานที่มีอายุ 40-60 ปี (วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ปิยนุช พละเยี่ยม และชลิตา ศรีนวล. (2561). ความตั้งใจใช้บริการทางการเงินผ่านระบบพร้อมเพย์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10(3), 154-163.

ปิยภัสสร์ ดรจันแดง และปาริชาต สถาปิตานนท. (2564). พฤติกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้นวัตกรรม แอปพลิเคชันแกร็บ(แกร็บฟู้ด)ในภาวะวิกฤตโควิด-19. วารสารนิเทศศาสตร์, 39(3), 94-112.

พัชรพล บุญโสภา และธัมมะทินา ศรีสุพรรณ. (2563). กลยุทธ์ทางการตลาดที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้ออย่างต่อเนื่องผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2(2), 26-37.

เยาวลักษณ์ ปานประดิษฐ์และธนวัต ลิมป์พาณิชย์กุล. (2563). ความผูกพันในการใช้บริการธุรกรรมของธนาคารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้ใช้บริการที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมุมมองจากทฤษฎีการยอมรับเทคโนโลยี. วารสารเกษตรศาสตร์ธุรกิจประยุกต์, 14(20), 45-77.

วรัญญู กิจเจริญธนารักษ์ และปวีณา คำพุกกะ. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการ ใช้บริการแอปพลิเคชันทางการเงินผ่านสมาร์ตโฟน. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 10(1), 129-145.

วิรดา พจนา และวสุธิดา นุริตมนต์. (2561). ความตั้งใจในการเลือกใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ TMB TOUCH ของผู้ใช้บริการธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน). วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 2(12), 70-79.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). รายงานผลการสำรวจผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยปี 2564. สืบค้น 15 สิงหาคม 2565, จาก https://www.etda.or.th/getattachment/a3ad051d-e372-48f6-9fbe-9a22de75666c/IUB2021_Slides-V5.pdf.aspx

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2565). สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2565 (ไตรมาส 1). สืบค้น 20 สิงหาคม 2565, จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/2565/report_ict_q1_65.pdf

หนึ่งฤทัย ขนานแข็ง และกฤชวรรธน์ โลห์วัชรินทร์. (2562). การปรับตัวของสถาบันการเงินไทยเพื่อเป็นธนาคารดิจิทัล. Journal of Buddhist Education and Research, 5(2), 376-388.

อรุณี นุสิทธิ์ และสัมพันธ์ เงินเหรียญ. (2562). ส่วนประสมทางการตลาดและกระบวนการตัดสินใจเลือกใช้บัตรเครดิตอิออนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม, 2(1), 14-26.

Cochran, W.G. (1953). Sampling Techniques. New York: John Wiley & Sons. Inc.

Davis, F. D. (1989). Perceived usefulness, Perceived ease of use and User acceptance of information technology. MIS Quarterly, 13(3), 319-340.

Flshbein, M. & Ajzen, I. (2010). Predicting and changing behavior: the reasoned action approach. New York: Psychology Press.

Goyal, V., Pandey, U. S. & Batra, S. (2012). Mobile banking in India: Practices, challenges and security issues. International Journal of Advanced Trends in Computer Science and Engineering, 1(2). 56-66.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E. & Tatham, R. L. (2010). Multivariate data analysis. New Jersey: Prentice Hall.

Larzelere, R. E. & Huston, T. L. (1980). The Dyadic Trust Scale: Toward understanding interpersonal trust in close relationships. Journal of Marriage and the Family, 42(3), 595–604.

Nunnally, J. C. & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory (3rd ed.). New York: McGraw-Hill.

Rogers, E. M. (1983). Diffusion of innovations. New York: The Fee Press.

Schiffman, L. G. & Kanuk, L. L. (1987). Consumer Behavior (3rd ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Zahid, N., Mujtaba, A. & Riaz, A. (2010). Consumer acceptance of online banking. European Journal of Economics Finance and Administrative Sciences, 27(1), 44-52.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-13

How to Cite