การวิเคราะห์ทางการเงินของบริษัทโรงแรม XYZ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
คำสำคัญ:
การวิเคราะห์ย่อส่วนตามแนวดิ่ง, การวิเคราะห์แนวโน้ม, การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน, หมวดการท่องเที่ยวและสันทนาการบทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานของบริษัท กลุ่มอุตสาหกรรมบริการ หมวดการท่องเที่ยวและสันทนาการ กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 1 บริษัท คือ บริษัทโรงแรม XYZ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย เครื่องมือในการศึกษาประกอบด้วยการวิเคราะห์ย่อส่วนตามแนวดิ่ง การวิเคราะห์แนวโน้ม และการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากงบการเงินรายปีของบริษัทโรงแรม XYZ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ตั้งแต่ปี 2558 – 2562 ผลการศึกษาพบว่า ผลการดำเนินงานในภาพรวมของบริษัทค่อนข้างเป็นที่น่าพอใจ โดยสัดส่วนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นจนอยู่ในระดับที่มากกว่าหนี้สิน แม้ความสามารถในการควบคุมค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารลดลง แต่บริษัทยังคงมีกำไรสุทธิเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีฐาน อัตราส่วนสภาพคล่องยังคงอยู่ในระดับต่ำแต่ดีขึ้น อัตราส่วนวัดประสิทธิภาพในการดำเนินงานด้านลูกหนี้ดีขึ้น แต่ประสิทธิภาพทางด้านสินค้าคงเหลือ สินทรัพย์รวม และสินทรัพย์ถาวรลดลงเล็กน้อย อัตราส่วนความสามารถในการชำระหนี้ดีขึ้นเช่นเดียวอัตราส่วนทางการตลาดของหุ้น แต่ได้ปรับย่อลงในปี 2562
References
กิตติ เกิดเปี่ยม. (2558). โครงการธุรกิจโรงแรม The Container Hotel Art of Materials Hotel. สืบค้น 20 ตุลาคม 2563, จาก http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/1093/1/kitti.kerd.pdf
จันทนา วัฒนกาญจนะ. (2559). การศึกษาอัตราส่วนมาตรฐานทางการเงินในธุรกิจอุตสาหกรรมบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2548 ถึง 2557. Veridian E-Journal Silpakorn University, 9(3), 1399–1426.
ชลกนก โฆษิตคณิน. (2562). ฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทไทยสตาร์ ซัพพลาย จำกัด ระหว่างปี พ.ศ. 2556–2560. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร, 7(1), 225–239.
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนไทยพาณิชย์ จำกัด. (2563). รายงานประจำปี 2562 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เอราวัณ โฮเทล โกรท. สืบค้น 20 ตุลาคม 2563, จาก https://www.scbam.com/th/fund/property-fund/fund-information/erwpf
ประชาชาติธรุกิจ. (2561). ธุรกิจโรงแรม Q2 ทรงตัว “อาหาร-รีเทล” หนุนรายได้รวมโต. สืบค้น 19 ตุลาคม 2563, จาก https://www.prachachat.net/tourism/news-206640
ปุณยวีร์ ใจเดช. (2556). การวิเคราะห์งบการเงินของบริษัทในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม หมวดธุรกิจเหล็กในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปี 2551–2555: กรณีศึกษา บริษัทไทย-เยอรมัน โปรดักส์ จำกัด (มหาชน). วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 5(1), 24–37.
โพธิ์ตะวัน ทีโยตระกูล ปานฉัตร อาการักษ์ และ จิรภา ศักดิ์กิตติมาลัย. (2561). การวิเคราะห์สุขภาพด้านการเงินของสหกรณ์การเกษตรอำเภอในจังหวัดเชียงราย : โดยใช้ตัวชีวัดทางการเงิน. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ, 11(1), 53–62.
ลงทุนศาสตร์. (2563). หุ้นอะไรอยู่ในเครือ XYZ บ้าง. สืบค้น 19 ตุลาคม 2563, จาก http://www.investerest.co/investment/xyz-group-related-stocks/
ศิริวรรณ ลิ้มสมบัติอนันต์ และพงษ์สรรค์ ลีลาหงส์จุฑา. (2556). การวิเคราะห์งบการเงินบริษัทเบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จำกัด (มหาชน) ระหว่างปี พ.ศ. 2551–2555. วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และบริหารธุรกิจ, 23(4), 379– 397.
สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2563). ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยวในประเทศไทย. สืบค้น 19 ตุลาคม 2563, จาก http://www.thailandtourismcouncil.org/wp-content/uploads/2020/01/Newsletter-Q4.2562.pdf
สุโชติ ถิรวรรณรัตน์. (2562), คิด เห็น share : อุตสาหกรรมโรงแรมไทย ยังต้องเผชิญปัจจัยลบ. สืบค้น 19 ตุลาคม 2563, จาก https://www.matichon.co.th/uncategorized/news_1669303
Brigham, E. F., & Gapenski, L. C. (1997). Financial Management: Theory and Practice (8th Ed.). Chicago: Dryden Press.
Hayes, S. L. (2006). Finance for Managers. Boston: Havard Business School Press.
Ross, S. A., Westerfield, R.W., & Jaffe J. F. (2003). Corporate Finance (6th Ed.). Homewood: McGraw-Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม บทความที่ลงพิมพ์ใน วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม ถือว่าเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน คณะบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง