การวิเคราะห์ผลการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

ผู้แต่ง

  • หรรษา สันติวิไลลักษณ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

คำสำคัญ:

การประกันคุณภาพการศึกษา

บทคัดย่อ

 การวิเคราะห์ผลการประเมินงานประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2557- 2559 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่   แบบบันทึกข้อมูลรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของคณะวิทยาการจัดการ ประจำปีการศึกษา 2557-2559 ผลการวิจัยพบว่า ระดับคะแนนสูงขึ้นในทุกๆปี เนื่องจาก คณะมีระบบและกลไกที่ดีในการพัฒนาคณาจารย์ด้านการวิจัย ทั้งจากกระบวนการจัดการความรู้ การสร้างแรงบันดาลใจ การส่งเสริมสนับสนุนงบประมาณ ทำให้เกิดผลการดำเนินงานที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมีโครงการบริการวิชาการที่ลงสู่ชุมชน สนองตอบต่อความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง และบูรณาการเชื่อมโยงกับการพัฒนานักศึกษาให้มีประสบการณ์ตรงตามศาสตร์สาขาวิชา แต่คณะควรกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการให้บริการวิชาการแก่สังคม แล้วนำไปสู่กับพัฒนาชุมชน อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

Author Biography

หรรษา สันติวิไลลักษณ์, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

อาจารย์ประจำสาขาวิชาการตลาด

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2547). การคิดเชิงวิเคราะห์. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : ซัดเซสมีเดีย.

คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา.(2558). คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2557. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนนบุรี: ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (2557). รายงานผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (2558). รายงานผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (2559). รายงานผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

จุฑารัตน์ วิทยาขาว. (2541). การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา : ศึกษากรณีการนำนโยบาย ไปปฏิบัติในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วิทยานิพนธ์ ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิติธร ปิลวาสน์. 2556. การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance in Education). ค้นวันที่ 9 มิถุนายน 2557 จาก http://taamkru.com/th/การประกันคุณภาพการศึกษา.

วราภรณ์ บุญเจียม. 2546. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการประเมินภายนอกเพื่อพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2547). ทฤษฎีการประเมิน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมคิด พรมจุ้ย (2542). เทคนิคการประเมินโครงการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. 2555. ความหมายและความสำคัญของการ ประกันคุณภาพ. ค้นวันที่ 9 มิถุนายน 2557. จาก http://arit.chandra.ac.th/sar/meaning.pdf.

สุลัดดา ศรีโท. (2550). การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลและสารสนเทศใน การประกันคุณภาพภายในเพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกสำหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษา จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อุทุมพร จามร. (2543). การประกันคุณภาพระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ฟันนี่พับบลิซชิ่ง.

อุไรพรรณ เจนวาณิชยานนท์. (2540). แนวคิดในการประกันคุณภาพทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในการประกันคุณภาพ:รูปแบบและแนวทางในระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาอุดมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

(Quality Assessment) เล่มที่ ป 01. (พฤศจิกายน 2543). (ออนไลน์). สืบค้นจาก http://pioneer.chula.ac.th/~jutumpor/qadocument.html [27พฤศจิกายน 2549]

Cuttance, P. (1993). Quality Assurance and Quality Management : Complentary but Different Function. Evaluation news & comment. F

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-13

How to Cite