การลดความสูญเปล่าในกระบวนการขนส่งเฟอร์นิเจอร์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดดิจิทัลลีน กรณีศึกษา ธุรกิจจำหน่ายเฟอร์นิเจอร์จังหวัดสกลนคร

Main Article Content

กนกพรรณ สุวรรณปักษิณ
ปณัทพร เรืองเชิงชุม*

บทคัดย่อ

         การลดความสูญเปล่าที่เกิดจากความล่าช้าในกระบวนการมีความสำคัญต่อการลดระยะเวลาและต้นทุนค่าเสียโอกาสในกระบวนการขนส่ง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการลดความสูญเปล่าที่เกิดจากความล่าช้าในกระบวนการขนส่งเฟอร์นิเจอร์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดดิจิทัลลีน  โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูล 20 คน และข้อมูลเชิงปริมาณจากการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง 150 คน  ร่วมกับการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแผนภูมิกระบวนการไหล กิจกรรมที่เพิ่มคุณค่าและไม่เพิ่มคุณค่า การศึกษาเวลาและโมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า กิจกรรมจัดวางเฟอร์นิเจอร์ตามที่ลูกค้าต้องการเป็นความสูญเปล่าจากความล่าช้าที่ใช้เวลามากที่สุด โดยการจัดการคลังสินค้า การเคลื่อนไหว และทักษะการทำงาน เป็นปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสูญเปล่าที่เกิดจากความล่าช้า  จึงเสนอแนวทางลดความสูญเปล่าที่เกิดจากความล่าช้าในกระบวนการขนส่งด้วยดิจิทัลลีน พบว่า สามารถลดระยะเวลาขนส่งจาก 190.30 นาที เป็น 174.55 นาทีต่อรอบการขนส่ง ส่งผลให้สามารถลดต้นทุนค่าเสียโอกาสจาก 80,000 บาท  เป็น 5,000 บาท บาทต่อเดือน ดังนั้น ผู้ประกอบการให้ความสำคัญต่อการลดความสูญเปล่าที่เกิดจากความล่าช้าด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดดิจิทัลลีน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)
Author Biography

ปณัทพร เรืองเชิงชุม*, วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Lecturer at College of Graduate Study in Management (MBA),KhonKaen University,KhonKaen, 40002 Thailand

References

ช่อฉัตร สัจจาวิริยะ, ประทานพร จันทร์อินทร์ และ สุธนา บุญเหลือ. (2564). ความสามารถเชิงกลยุทธ์ในการตอบสนองลูกค้า และผลการดำเนินงานทางการตลาดของธุรกิจเครื่องสำอางในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 11(1), 21-40.

ประจักษ์ พรมงาม, ศักดิ์ กองสุวรรรณ และ เชษฐ์ภณัฏ ลีลาศรีสิริ. (2559). แนวทางพัฒนาลดความล่าช้าในการขนส่งสินค้าปูนซีเมนต์ผง กรณีศึกษา บริษัท มีนาทรานสปอร์ต จำกัด. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 10(3), 117-127.

ปานหทัย มหา และ ปณัทพร เรืองเชิงชุม. (2564). การลดความสูญเปล่าในกระบวนการจัดเก็บสินค้าคงคลัง กรณีศึกษาธุรกิจผลิตและจำหน่ายประตูไม้ จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5(1), 47-70.

ปาริชาติ ช้วนรักธรรม, ธนวัฒน์ สุดจิตร์สมโภชน์ และ ลลิดา จูมโสดา. (2563). แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งไปรษณีย์ภัณฑ์และพัสดุไปรษณีย์ของบริษัท ไปรษณียไทย จํากัด. วารสารวิชาการ สถาบันวิทยาการจัดการ แห่งแปซิฟิค, 6(2), 347-356.

ร้านบ้านแสงทองเฟอร์นิเจอร์. (2564). รายงานการขายเฟอร์นิเจอร์. สกลนคร: ร้านบ้านแสงทองเฟอร์นิเจอร์.

วฒี พิพัฒน์ไชยศิริ และ ปณัทพร เรืองเชิงชุม. (2563). การลดความสูญเปล่าที่เกิดจากความล่าช้าในกระบวนการจัดสรรรถบรรทุกอ้อยด้วยการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ด้วยการประยุกต์ใช้ข้อมูลสารสนเทศผ่านโปรแกรม LINGO: กรณีศึกษาโรงงานน้ำตาลในจังหวัดขอนแก่น. วารสารระบบสารสนเทศด้านธุรกิจ, 6(3), 41-55.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560). ธุรกิจโลจิสติกส์ 4.0 ดันธุรกิจขนส่งพุ่ง. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2564, จาก https://kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/TransportationWithLogistic40.pdf

สุภัทรพงษ์ สนอุทา และ ปณัทพร เรืองเชิงชุม. (2563). การลดความสูญเปล่าที่เกิดจากความล่าช้าในกระบวนการติดตามเอกสารทางการเงินด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดห่วงโซ่อุปทาน 4.0. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 9(1), 38-54.

อัจฉรา ช่องผม และ กุลณัฐ ทิพย์ขุนทด. (2562). การลดความล่าช้าในการขนส่งของรถคอนกรีตผสมเสร็จกรณีศึกษา บริษัทผลิตภัณฑ์และวัสดุก่อสร้าง CPAC จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม, 1(2), 16-35.

อัญชลี หิรัญแพทย์. (2559). กระบวนการการจัดการขนส่งผลิตภัณฑ์สีย้อมของบริษัท เอบีซี จำกัด : กรณีศึกษาขั้นตอนการดำเนินการขนส่ง. วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน, 2(2), 87-99.

Achahchah, M. (2019). Lean Transportation Management: Using Logistics as a Strategic Differentiator. New York: Routledge.

Adam, M.R.R. (2018). Practical Guide of the Integrated Structural Equation Modeling (SEM) with LISREL & AMOS for Marketing and Social Sciences Thesis. Yogyakarta: Deepublish Publisher.

Akgül, Y. (2019). Structural Equation Modeling Approaches to E-Service Adoption. London: Business Science Reference.

Anusit Saysaman & Parames Chutima. (2018). Transportation of part supply improvement in agricultural machinery assembly plant. IOP Conference Series Materials Science and Engineering, 311(1). DOI:10.1088/1757-899X/311/1/012010

Blunch, N.J. (2013). Introduction to Structural Equation Modeling using IBM SPSS Statistics and AMOS (2nd edition). New York: Sage.

Brau, S. J. (2017). Lean Manufacturing 4.0: The Technological Evolution of Lean. South Carolin: CreateSpace Independent Publishing Platform.

Fartaj, S. R., Kabir, G., Eghujovbo, V., Ali, S. M., & Paul, S.K. (2020). Modeling transportation disruptions in the supply chain of automotive parts manufacturing company. International Journal of Production Economics, 222. DOI: 10.1016/j.ijpe.2019.09.032

Garza-Reyes, J. A., Sarita Tangkeow, Kumar, V., & Nadeem, S. P. (2017). Lean manufacturing adoption in the transport and logistics sector of Thailand – An exploratory study. In The International Conference on Industrial Engineering and Operations Management (pp.104-115). Bandung: University of Derby.

Greene, W. H., Khalaf, L., Sickles, R., Veall, M., & Voia, M. C. (Eds.). (2016). Productivity and Efficiency Analysis. New York: Springer.

Hansen, L. G. (2016). Transportation and coordination in clusters networks, capabilities, and the role of transportation in the selling furniture cluster. International Studies of Management & Organization, 31(4), 73-88.

Heizer, J., Render, B., & Munson, C. (2020). Operations Management: Sustainability and Supply Chain Management (13th ed.). London: Pearson

Hoellthaler, G., Braunreuther, S., & Reinhart, G. (2018). Digital lean production – An approach to identify potentials for the migration to a digitalized production system in SMEs from a lean perspective. Procedia CIRP, 67, 522–527.

Jana, P., & Tiwari, M. (2021). Lean Tools in Apparel Manufacturing. Duxford: Elsevier.

Khalil, H., & Ebner, M. (2017). Using electronic communication tools in online group activities to develop collaborative learning skills. Universal Journal of Educational Research, 5(4), 529-536.

Mashur, R., Gunawan, B. I., Fitriany, Ashoer, M., Hidayat, M., & Aditya, H. P. K. P. (2019). Moving from traditional to society 5.0: Case study by online transportation business. Journal of Distribution Science, 17(9), 93-102.

Nag, B. N. (2019). Managing Operations in Manufacturing, Services and E-Business (2nd ed.). New York: Linus Learning.

Paul, S. K., Asian, S., Goh, M., & Torabi, S. A. (2019). Managing sudden transportation disruptions in supply chains under delivery delay and quantity loss. Annals of Operations Research, 273, 783-814.

Pinho, T., & Lobo, M. (2019). Lean tools applied in transport and logistics services. Revista Produção Desenvolvimento, 5. DOI:10.32358/rpd.2019.v5.411

Popescu, M. C. (2019). Improving the lean logistic operations management in transportation by introducing the RFID system. In The 13th International Conference on Business Excellence (pp.1118-1129). Bucharest: Society for Business Excellence.

Ramadan, M., & Salah, B. (2019). Smart lean manufacturing in the context of industry 4.0: A case study. World Academy of Science, Engineering and Technology International Journal of Industrial and Manufacturing Engineering, 13(3), 174-181.

Ratchawan Kanjanapanyakom. (2019). Industrial Work Study. Bangkok: Top Publishing.

Ruompol Jantasart & Ungul Laptaned. (2017). Causal factors of lean affecting transportation and warehousing for waste reduction and value added: A literature review. Academic Journal Bangkokthonburi University, 6(2), 226-246.

Sekaran, U., & Bougie. R. (2016). Research Methods for Business: A Skill-Building Approach (7th ed.). Handdington: John Wiley and Sons.

Singh, K., Junnarkar, M., & Kaur, J. (2016). Measures of Positive Psychology: Development and Validation. New Delhi: Springer.

Subudhi, R. N., & Mishra, S. (Eds.). (2020). Methodological Issues in Management Research: Advances, Challenges and the Way Ahead. Bingley: Emerrald Publishing.

Tzortzopoulos, P., Kagioglou, M., & Koskela, L. (2020). Lean Construction Core Concepts and New Frontiers. New York: Routledge.

Villarreal, B., Garza-Reyes, J. A., Kumar, V. & Lim, M. K. 2017. Improving road transport operations through lean thinking: A case study. International Journal of Logistics Research and Applications, 20(2), 163-180.

Wei, K., & Vaze, V. (2018). Modeling crew itineraries and delays in the national air transportation system. Transportation Science, 52(5), 1035-1296.

Zhang, D., Pee, L. G., & Cui, L. (2021). Artificial intelligence in e-commerce fulfillment: A case study of resource orchestration at Alibaba’s smart warehouse. International Journal of Information Management, 57(4). DOI: 10.1016/j.ijinfomgt.2020.102304