ส่วนประสมการตลาดออนไลน์ที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเฟซบุค ของผู้บริโภคชาวลาวในแขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

Main Article Content

ทิพย์เกสร เพชรโสภา*
วุฒิชาติ สุนทรสมัย

บทคัดย่อ

         การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ้าฝ้ายย้อมครามผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟซบุค 2) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อผ้าฝ้ายย้อมคราม และ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดออนไลน์ที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อผ้าฝ้ายย้อมครามผ่านเฟซบุคของผู้บริโภคชาวลาว ในแขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มผู้บริโภคชาวลาวที่อาศัยในแขวงสะหวันนะเขตที่เคยซื้อผ้าฝ้ายย้อมครามผ่านเฟซบุคอย่างน้อย 1 ครั้ง จำนวน 400 คน ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ t-test, One Way ANOVA และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณด้วยวิธีการเพิ่มตัวแปรแบบหลายขั้นตอน (Stepwise)


          ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการซื้อสินค้าผ้าฝ้ายย้อมครามของผู้บริโภคส่วนใหญ่คือ ผ้าซิ่น โดยมีความถี่ในการซื้อ 2-3 ครั้งภายในระยะ 3 เดือน และเหตุผลหลักในการเลือกซื้อสินค้าจากร้านนั้น ๆ คือมีราคาถูกกว่าที่อื่น  ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เพศที่ต่างกันมีกระบวนการตัดสินใจซื้อที่ต่างกัน และปัจจัยส่วนประสมการตลาดออนไลน์ ได้แก่ ปัจจัยผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจำหน่าย การให้บริการส่วนบุคคล และการรักษาความเป็นส่วนตัวส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าผ้าฝ้ายย้อมครามผ่านเฟซบุคของผู้บริโภคชาวลาวในแขวงสะหวันนะเขต

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
เพชรโสภา* ท., & สุนทรสมัย ว. . (2022). ส่วนประสมการตลาดออนไลน์ที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเฟซบุค ของผู้บริโภคชาวลาวในแขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 11(1), 154–179. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jms_ubu/article/view/252761
บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2563). ข้อมูลการค้าออนไลน์ข้ามพรมแดน “สปป.ลาว”. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2563. จากhttps://www.ditp.go.th/ditp_web61/article_sub_view.php?filename=contents_attach/584554/584554.pdf&title=584554&cate=1960&d=0

กรมสถิติสังคมศูนย์สถิติแห่งชาติ. (2563). จำนวนอำเภอ จำนวนตำบล จำนวนพลเมือง จำนวนหลังคาบ้าน จำนวนครัวเรือนในแต่ละแขวงจากผลการขึ้นบัญชีบ้านและบัญชีครัวเรือนทั่วประเทศ ปี 2019. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2564. จาก shorturl.asia/M8iu3

กระทรวงการวางแผนและการลงทุน. (ม.ป.ป.). สรุปกลางสมัยการจัดตั้งปฏิบัติแผนพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคมแห่งชาติ 5 ปี ครั้งที่ VIII (2016-2020). สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2563. จาก

https://rtm.org.la/wp-content/uploads/2019/11/8th-NSEDP-Mid-Term-Review-Lao.pdf

กัลยา วานิชย์บัญชา และ ฐิตา วานิชย์บัญชา. (2561). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย.

จิรภัทร เริ่มศรี และ จันทิมา เขียวแก้ว. (2562). กลยุทธ์การสื่อสารอัตลักษฌ์ผ้าย้อมครามสกลนคร. วารสาร มจรสังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 8(4), 178-190.

จุฑามาศ เฟื่องโชติการ. (2562). ส่วนประสมทางการตลาดส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าบนสื่อออนไลน์ เฟซบุคของประชาชนในจังหวัดพิษณุโลก. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, คณะบริหารธุรกิจ, สาขาการจัดการประยุกต์.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2562). พฤติกรรมผู้บริโภค (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหวิทยาลัย.

โชติกา วิบูลย์ศิริวงศ์ และ ปฐมา สตะเวทิน. (2563). อิทธิพลของการโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียงกับการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านอินสตาแกรมของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนิเทศศาสตร์, 38(1), 27-38.

เทคซอสทีม. (2562). Sea (Group) เผยเทรนด์ E-commerce ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่น่าจับตามองในปี 2019. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2563. จาก https://techsauce.co/pr-news/sea-group-e-commerce-trend-in-south-east-asia

ธนาคารแห่ง สปป.ลาว. (2564). อัตราแลกเปลี่ยน กรมบริการ. สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2564. จาก

https://www.bol.gov.la/ExchangRate.php

ธัญลักษณ์ สุมนานุสรณ์. (2562). พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุกลุ่ม เบบี้บูมเมอร์. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 6(2), 175-188.

ธิคณา ศรีบุญนาค และ อุมาพร พงษ์สัตยา. (2562). ส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางเกาหลีผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์. วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2(3), 88-100.

บุษยา วงษ์ชวลิตกุล, สงวน วงษ์ชวลิตกุล, ธนกร ลิ้มศรัณย์, อรอุมา ปราชญ์ปรีชา, ทศพล ปราชญ์ปรีชา และจอมภัค จันทะคัต. (2560). พฤติกรรมการซื้อและการวิเคราะห์องค์ประกอบปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 6(1), 95-113.

ปรารถนา พะสิม และ วิไลลักษณ์ รัตนเพียรธัมมะ. (2561). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภค. ใน การประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ “UTCC Academic Day ครั้งที่ 2”. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2564. จาก

https://scholar.utcc.ac.th/bitstream/6626976254/3806/1/proceeding_0134%20%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b2%e0%b8%96%e0%b8%99%e0%b8%b2.pdf

ภูษณ สุวรรณภักดี และ วิลาวัลย์ จันทร์ศรี. (2561). อิทธิพลของความไว้วางใจ ทัศนคติ และส่วนประสมทางการตลาดต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดสงขลา. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 10(2), 21-38.

โยษิตา นันทิภาคย์ และ คม คัมภิรานนท์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าในร้านมัลติแบรนด์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ประเภท Instagram ของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่นวาย, วารสารรัชต์ภาคย์, 14(36), 130-146.

รัศชานนท์ พมนิน และ ภิเษก ชัยนิรันดร์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของวัยรุ่นในนครหลวงเวียงจันทน์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 14(3), 139-150.

เรดิโอ-สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย. (2560). ไทย และ สปป.ลาว พัฒนาความร่วมมือด้านไปรษณีย์โทรคมนาคมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเชื่อมโยงการทำงานด้านเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของ2ประเทศให้เติบโตยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 17 มีนาคม 2563. จาก

http://thainews.prd.go.th/th/website_th/news/print_news/WNICT6102040020001

วริศรา สู้สกุลสิงห์ และ วราวุธ ฤกษ์วรารักษ์. (2563). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดพิษณุโลก.วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 12(1), 99-117.

วิศิษฎ์ เกตุรัตนกุล, ณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน และ สุภาภรณ์ ศรีดี. (2562). กลยุทธ์การแพร่ภาพสดผ่านเฟซบุ๊กไลฟ์ขายสินค้าแฟชั่นกับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค. วารสารวิชาการนิเทศสยามปริทัศน์, 18(24), 117-129.

วุฒิ สุขเจริญ. (2561). วิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วุฒิชาติ สุนทรสมัย. (2552). การวิจัยการตลาดและระบบสารสนเทศทางการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

ศูนย์อินเทอร์เน็ตแห่งชาติ (2563). คณะกรรมการคุ้มครองอินเทอร์เน็ตแห่งชาติสรุปส่วนงานการคุ้มครองอินเทอร์เน็ตแห่งชาติ. วารสารไอซีทีลาว (Lao ICT Magazine). 16. 6-7. สืบค้นเมื่อ 3 กันยายน 2564. จาก

https://ictmag.gov.la/ictmag/gweb/gweb/backend/web/index.php?r=site/detail&id=494

สถานกงสุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะเขต. (2562). ข้อมูลทั่วไปแขวงสะหวันนะเขต. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2563. จากshorturl.asia/Hk2qX

สรรค์ชัย กิติยานันท์, สุทธิพจน์ ศรีบุญนาค, สุภัตรา กันพร้อม, มานิต คำเล็ก และ จิราภรณ์ บัวพวง. (2561). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 5(2), 75-90.

สิทธิชัย พิทักษ์พงศ์ และ ฉันทนา ปาปัดถา. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อรองเท้ามือสองแบรนด์เนมทางเฟซบุ๊ก. วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร. 3(2). 103-117.

สิริชัย ดีเลิศ และ สุภาวดี รัตนพงศ์พันธ์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของกลุ่มผู้บริโภคตลาดเฉพาะกลุ่ม. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทยสาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ, 11(1), 2404-2424.

สืบชาติ อันทะไชย. (2556). การบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

สุวภี กลีบบัว. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าผ่านสังคมออนไลน์:กรณีศึกษา เฟซบุ๊กในเขตอำเภอเมืองจังหวัดลำปาง. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 29(1), 79-93.

เหมือนจิต จิตสุนทรชัยกุน. (2561). พฤติกรรมผู้บริโภคกับธุรกิจค้าปลีก. กรุงเทพฯ: ชีเอ็ดยูเคชั่น.

อนุศักดิ์ รัตนกนกกาญจน์ และ ปริฉัตร วงศ์ปัจฉิม. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครอุดรธานี. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 11(1). 44-63.

อวยพร พานิช. (2563). พฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลโฆษณาและการตัดสินใจซื้อผ้าไทยบนเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ก. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 13(1), 71-83.

อิทธิพงษ์ ชละธาร และ พัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล. (2564). ส่วนประสมการตลาดและคุณค่าตราสินค้าที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าตรายูนิโคล่ผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคในประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 26(1), 16-29.

Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques (3th ed.). New York: John Wiley & Sons.

Edwar, M., Diansari, R. A. A., & Winawati, N. F. (2018). The factors that affecting the product purchasing decision through online shopping by students of Surabaya state university. International Journal of Educational Research Review, 3(4), 54-64.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B.J. & Anderson, R. E. (2013). Multivariate Data Analysis: Pearson New International Edition (7th ed.). Harlow: Pearson Education limited.

Kalyanam, K., & McIntyre, S. H. (2002). The e-marketing mix: A contribution of the e-tailing wars. Journal of the Academy of Marketing Science, 30(4), 487-499.

Kotler, P., & Armstrong, G. (2016). Principles of Marketing (16th ed). Boston United States: Pearson Education.

Kotler, P., Keller, K. L., Ang, S. H., Tan, C. T., & Leong. S. M. (2018). Marketing Management, An Asian Perspective (7th ed.). Harlow, United Kingdom : Pearson Education limited.

Les, D., Francisco, R., & Emma, B. (2021). Going digital? The impact of social media marketing on retail website traffic, orders, and sales [abstract]. Journal of Retailing and Consumer Services, 60, 102501.

McCarthy, E. J., & Perreault, W. D. (1984). Basic Marketing: A Managerial Approach. Homewood, Illinois: Richard D.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed). New York: McGraw-Hill.

Sam, K. M., & Chatwin, C. R. (2013). Measuring e-marketing mix elements for online business. International Journal of E-Enterperneurship and Innovation, 3(3), 13-26.

Schiffman, L. G., & Kanuk, L. L. (2007). Consumer Behavior (9th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall, Upper Saddle River.