ตัวแปรที่ส่งผลต่ออัตราส่วนการขนส่งของสายการบินต้นทุนต่ำไทยแอร์เอเชีย

Main Article Content

สุภาวดี ขุนทองจันทร์ *
ทักษธิป ขุนทองจันทร์

บทคัดย่อ

                   ธุรกิจการบินเป็นธุรกิจที่มีต้นทุนสินทรัพย์มาก ทำให้ต้องใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าถึงระดับหนึ่ง  เพื่อทำให้     การบินในแต่ละเที่ยวบินคุ้มทุน  บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ตัวแปรที่ส่งผลต่ออัตราส่วนการขนส่งของสายการบินต้นทุนต่ำไทยแอร์เอเชีย  โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ  แล้วนำมาวิเคราะห์ผลเชิงปริมาณโดยใช้วิธีกำลังสองน้อยที่สุด ด้วยโปรแกรม Eviews7  ผลการศึกษาพบว่า จำนวนผู้โดยสารของสายการบินไทยแอร์เอเชียมีผลต่ออัตราส่วนการขนส่งผู้โดยสารอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  โดยที่จำนวนผู้โดยสารของสายการบินไทยแอร์เอเชียเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นส่งผลให้อัตราส่วนการขนส่งผู้โดยสารเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นในทิศทางเดียวกัน  จำนวนผู้โดยสารของสายการบินไทยแอร์เอเชียเปลี่ยนแปลง 1 เปอร์เซ็นต์ ทำให้อัตราส่วนการขนส่งผู้โดยสารในทิศทางเดียวกัน 2.06 เปอร์เซ็นต์

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Review Article)

References

กมลวรรณ เก็งสาริกิจ. (2559). การรับรู้ประโยชน์ความเชื่อมั่นในคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, บัณฑิตวิทยาลัย.

กรมท่าอากาศยาน. (2552). จำนวนผู้โดยสารเส้นทางบินภายในประเทศในปี พ.ศ. 2546. สืบค้นเมื่อ 19 เมษายน 2562. จาก https://www.airports.go.th/th/profile/172.html

บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน). (2562). อัตราส่วนการขนส่งผู้โดยสาร. สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2562. จาก

http://capital.sec.or.th/webapp/corp_fin/datafile/69/024500018901022010-08- 17T16.PDF?ts=1282333938 และ https://investdiary.co/2018/12/15/166/)

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน). (2562). จำนวนผู้โดยสารของสายการบินไทยแอร์เอเชีย. สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2562. จาก https://airportthai.co.th

บริษัทไทยแอร์เอเชีย. (2561). แบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1). สืบค้นเมื่อ 19 เมษายน 2562 จาก

http://www.aavplc.com/

พีระยุทธ คุ้มศักดิ์. (2555). ความพึงพอใจของผู้โดยสารที่มีต่อคุณภาพการบริการของสายการบินต้นทุนต่ำภายในประเทศ (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.

รุจิราภรณ์ เอ็นดู. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการสายการบินแอร์เอเชียของประชากรในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี.

ศิวัตรา พิพัฒน์ไชยศิริ. (2555). ปัจจัยในการเลือกใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำเส้นทางภายในประเทศของผู้โดยสารชาวไทย. วารสารวิจัย มข. ฉบับสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับธุรกิจและเศรษฐกิจ), 11(2), 154-167.

สันติ ชัยศรีสวัสดิ์สุข. (2556). หลักการแบ่งงานกันทำในเชิงเศรษฐศาสตร์ (Division of Labor). สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2562 จาก https://posttoday.com/search/result

สมปรารถนา สมินทรปัญญา. (2551). ความคิดเห็นต่อการใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำของผู้โดยสารที่ใช้บริการ ณ ท่าอากาศยานเชียงราย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, สาขาวิชาการจัดการทั่วไป

หนังสือพิมพ์ผู้จัดการออนไลน์. (2562). สถิติการเกิดเหตุขัดข้องของสายการบินแอร์เอเชีย. สืบค้นเมื่อ 19 เมษายน

จาก https://mgronline.com

อัครพงศ์ อั้นทอง. (2550). คู่มือการใช้โปรแกรม EViews เบื้องต้น: สําหรับการวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติ. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Alderighi, M., Cento, A., Nijkamp, P., & Rietveld, P. (2012). Competition in the European aviation market: the entry of low-cost airlines. Journal of Transport Geography, 24(September), 223-233.

Francis, G., Humphreys, I., & Ison, S. (2004). Airports’ perspectives on the growth of low-cost airlines and the remodeling of the airport–airline relationship. Tourism Management, 25(4), 507-514.

Mason, K. J. (2001). Marketing low-cost airline services to business travellers. Journal of Air Transport

Management, 7(2), 103-109.

Pels, E. (2008). Airline network competition: Full-service airlines, low-cost airlines and long-haul markets. Research in transportation economics, 24(1), 68-74.

Warnock-Smith, D., & Potter, A. (2005). An exploratory study into airport choice factors for European low-cost airlines. Journal of Air Transport Management, 11(6), 388-392.