การจัดการชุมชนการท่องเที่ยวบนพื้นที่สูง กรณีศึกษาภูลมโล และพื้นที่เชื่อมโยงอย่างยั่งยืน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มุ่งนั้นเพื่อศึกษาการจัดการการท่องเที่ยวบนพื้นที่สูง:
กรณีศึกษาภูลมโลและพื้นที่เชื่อมโยงอย่างยั่งยืน โดยได้ผลสรุปตามวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อศึกษาศักยภาพของชุมชนท่องเที่ยว และการจัดการชุมชนท่องเที่ยว
บนพื้นที่สูงกรณีศึกษาภูลมโลและพื้นที่เชื่อมโยงอย่างยั่งยืนพบว่า จากการสำรวจ
พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ในการเดินทางมา
ภูลมโล เพื่อพักผ่อนหย่อนใจท่องเที่ยวและชมความงามของแหล่งท่องเที่ยว ส่งผลให้
เกิดการขยายตัวของนักท่องเที่ยวจำนวนมาก ตลอดจนกระแสการท่องเที่ยวผ่านสื่อ
สังคมออนไลน์ จึงส่งผลให้นักท่องเที่ยวมีความต้องการ สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ
ในขณะที่พื้นที่ภูลมโลเป็นพื้นที่ตันน้ำมิได้อยู่ในโซนการท่องเที่ยว ส่งผลให้เกิดปัญหา
มากมายทั้งเรื่องเส้นทางการท่องเที่ยว จำนวนรถสำหรับบริการนักท่องเที่ยว
การทำลายตันนางพญาเสือโคร่ง การทิ้งขยะและตลอดจนปัญหาเรื่องห้องน้ำ การเข้า
มาของนักท่องเที่ยวทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการท่องเที่ยวของชุมชนที่มี
การเปลี่ยนจากชุมชนเกษตรกรเป็นชุมชนประกอบการด้านการท่องเที่ยว ทำให้
กิจกรรมและวิถีชีวิตของชุมชนเปลี่ยนไป คือ เกิดการมุ่งเน้นประกอบธุรกิจ
การท่องเที่ยว ทั้งด้านบ้านพัก ร้านอาหาร และรถบริการสำหรับรับส่งนักท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลให้เกิดความขัดแย้งระหว่างนักท่องเที่ยว ชุมชน
อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ในเรื่องการจัดการชุมชนบนพื้นที่สูงภูลมโลและพื้นที่
เชื่อมโยง
2. เพื่อศึกษาภาพการวางแผนอนาคต (Scenario Planning) ของชุมชน
ท่องเที่ยวและการจัดการชุมชนท่องเที่ยวบนพื้นที่สูง กรณีศึกษาภูลมโลและพื้นที่
เชื่อมโยงอย่างยั่งยืน เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนท่องเที่ยวกับการจัตการ
ท่องเที่ยวของชุมชนใน 3มิติ คือ ภาพอนาคตที่ดีที่สุด ภาพอนาคตที่ไม่ดีที่สุด และ
ภาพอนาคตที่เป็นไปได้มากที่สุด จากการศึกษาพบว่า แนวคิดหลักเพื่อก่อให้เกิด
ความยั่งยืนของการจัดการชุมชนท่องเที่ยวบนพื้นที่สูงภูลมโลและพื้นที่เชื่อมโยง คือ
แนวความคิดในการบริหารจัดการร่วม (Co - Management) ไม่ทำให้เกิด
ความขัดแย้งในขุมชน เพื่อทำให้คนในพื้นที่และคนนอกพื้นที่เห็นคุณค่าร่วมกัน โดยที่
ประชาชนในท้องถิ่นและผู้ประกอบการต่างๆ จะต้องเข้ามามีบทบาทในการส่งเสริม
และสนับสนุนการดำเนินกิจการท่องเที่ยวของชุมชนในฐานะหุ้นส่วนทางสังคม
(Social Partnership) เพื่อร่วมรับผลประโยชน์และรับผิดชอบต่อชุมชน ตลอดจน
การคำนึงถึงขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่มากกว่ากระแสของนักท่องเที่ยว
และรายได้ที่เกิดจากการท่องเที่ยวที่จะนำเข้ามาสู่พื้นที่
แผนภาพอนาคตที่ดีที่สุด ในการจัดการชุมชนท่องเที่ยวบนพื้นที่สูง
กรณีศึกษาภูลมโล และพื้นที่เชื่อมโยงอย่างยั่งยืน ซึ่งมีเป้าหมายหลักเพื่อการแก้ไข
ปัญหาอย่างยั่งยืน โดยมีวิสัยทัศน์ คือ การบริหารจัดการบนฐานวัฒนธรรมภูมิปัญญา
ท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าและรักษาคุณค่อย่างยั่งยืนโดยการบริหารจัดการแบบร่วม
รับผิดชอบ พร้อมทั้งทิศทางในการพัฒนา 4 ทิศทาง ได้แก่ ทิศทางด้านแหล่ง
ท่องเที่ยว ด้านทรัพยากรมนุษย์ การบริการและการท่องเที่ยว ด้านการจัดการ
การท่องเที่ยว และทิศทางด้านการคุ้มครองทางสังคม (Social Protection)
3. เพื่อสร้างองค์ความรู้ ทิศทางและนโยบายแผนยุทธศาสตร์แผนกลยุทธ์
แผนงานโครงการทั้ระดันโยบายและปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการชุมชน
ท่องเที่ยวบนพื้นที่สูงกรณีศึกษาภูลมโลและพื้นที่เชื่อมโยงอย่างยั่งยืน โดยองค์ความรู้
ที่ค้นพบคือวิธีวิทยาในการวิเคราะห์ปีจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการชุมชนท่องเที่ยว
บนพื้นที่สูงกรณีศึกษาภูลมโลและพื้นที่เชื่อมโยงอย่างยั่งยืน โดยวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ในเชิงการจับคู่ตัวแปร
1) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องแบบแยกส่วน
ระหว่างความสัมพันธ์ของปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการการท่องเที่ยวภูลมโล
2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องแบบซ้อนทับ
ระหว่างความสัมพันธ์ของปัญหาที่เกิดขึ้นกับความสัมพันธ์ของผลกระทบที่เกิดขึ้นใน
ชุมชนภายหลังมีการท่องเที่ยวภูลมโลสามารถกำหนดยุทธศาสตร์ เพื่อวางแผนภาพ
อนาคตที่เป็นไปได้มากที่สุด
3) การวิเคราะห์เพื่อความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องแบบประสาน
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องของปัญหาที่เกิดขึ้นกับความสัมพันธ์ของผลกระทบที่เกิดขึ้นใน
ชุมชนภายหลังมีการท่องเที่ยวภูลมโลสามารถกำหนดยุทธศาสตร์เพื่อวางแผนภาพ
อนาคตที่ดีขึ้น โดยมีวิสัยทัศน์การบริหารจัดการบนฐานวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อเพิ่มมูลค่าและรักษาคุณค่าอย่างยั่งยืนโดยการบริหารจัดการแบบร่วมรับผิดชอบ
ซึ่งประกอบด้วย 4 ทิศทาง 12 ยุทธศาสตร์ 19 แผนงาน 77 โครงการ
Article Details
References
การท่องเที่ยวแบบสัมผัสวัฒนธรรมชนบท (Home stay). วิทยานิพนธ์
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กมล สุดประเสริฐ. (2540). การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน.
กรุงเทพฯ: เจเอ็นพี่.
จิระภาฉิมสุข. (2541) ศักยภาพของชุมชนในด้านทันตสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จิรวัฒน์ พิระสันต์. (2555) รายงานการวิจัยเรื่อง โครงการพัฒนาชุมชนรอบ
อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้องค์ความรู้ด้าน
วัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
จิรวัฒน์ พิระสันต์ และคณะ. (2553) โครงการพัฒนาชุมชนรอบอุทยาน
ประวัติศาสตร์สุโขทัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้องค์ความรู้ด้านวัฒนธรรม
เพื่อการท่องเที่ยวต่อการเปลี่ยนแปลงของชุมชนด้านเศรษฐกิจและ
สังคม. กรุงเทพฯ : กองทุนสนับสนุนการวิจัย 85
ขุลีรัตน์ จันทร์เชื้อ. (2547). รายงานการวิจัยเรื่อง การบริหารและการจัดการการ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในอุทยานแห่งชาติภูหินร่อง
เกล้า. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
(2552). รายงานการวิจัยเรื่อง การวิจัยเพื่อพัฒนาขีต
ความสามารถในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ่อเกลือพันปี ตำบลบ่อ
โพธิ์ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พิบูลสงคราม.
ดวงใจ หล่อธนวณิชย์. (2550) "รัฐ ทุน ชุมชนกับการจัดการทรัพยากรเพื่อการ
ท่องเที่ยวในญี่ปุ่น: กรณีของเมืองโยมิตัน". เอเชียปริทัศน.ปีที่ 28 ฉบับที่ :
2 หน้า : 183-218.
นิภารัตน์ สายประเสริฐ. (2553). การพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดย
ชุมชน ตำบลห้วยสัตว์ ใหญ่ อำภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์.
วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
นิศารัตน์วรประดิษฐ์. (2551) การจัดการท่องเที่ยวโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
บนพื้นที่สีเขียวบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน.
เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
บัณทร อ่อนดำ และวิริยา น้อยวงศ์นยางค์. (2533) ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
ชนบทะ ประสบการณ์ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สาขาพัฒนาชุมชน
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พชรวรรณ ทวงชน. (2555). แนวทางการเพิ่มศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวเชิง
นิเวศจากมุมมองของชุมชนะ กรณีศึกษาอุทยานสัตว์ป้าภาคอีสาน
ตอนบน ขอนแก่น-อุดรธานี จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เพชร ศรีนนท์ศิริ. (2556). รายงานการวิจัยเรื่อง รูปแบบการดานินงานของกลุ่ม
ท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัย
นเรศวร.
พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์. (2551). การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน. เพชรบุรี: คณะ
มนุษยศาสตร์และสังคมศสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
. (2553) การท่องเที่ยวชุมชน. กรุงเทพฯ: โอ.อส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาต. (254) มูลค่าเพิ่มในประเทศของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวใน
จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มณฑาวดี ทูลเกิด. (2552) การพัฒนารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อ
ความยั่งยืน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
เทคโนโยลีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
รำไพพรรณ แก้วสุริยะ. (2475). การท่องเที่ยวเชิงนิเวศและการท่องเที่ยวอย่าง
ยั่งยืน. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(อัดสำเนา)
สีลาภรณ์ นาครทรรพ และคณะ(2528). ตัวชี้วัดสาหรับงานพัฒนาชนบท:
ประสบการณ์จากนักพัฒนา. กรุงเทพฯ: สถาบันขุมชนท้องถิ่นพัฒนา.
วรรณพร วิณิชชานุกร,วรรณนิภา จัตุชัยและมาลี นุษยะมา. (2541).รายงานการ
วิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในประเทศไทย.
กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
วรวลัญช์สัจจาภิรัตน์. (2553). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ: กรณีศึกษา
ชุมชนทุ่งเพล ตำบลฉมัน อำภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี. บทความใน
การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพ สืบค้นจากอินเตอร์เน็ต
(http:/proceedings.bu.ac.th/?start-80 วันที่สืบค้น 11 มกราคม
พ.ศ.2559)
วิลาศ เตชะไพบูลย์. (2538.) การท่องเที่ยวกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนสถานการณ์
สิ่งแวดล้อมไทย 2538. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโลกสีเขียว.
วศิน ปัญญาวุธตระกูล. (2550) รายงานการวิจัยเรื่อง โครงการการท่องเที่ยวเชิง
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในพื้นที่ระเบียงวัฒนธรรม (กำแพงเพชร
สุโขทัย พิษณุโลก เพชรบูรณ์). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ศัริพร พงษ์ศรีโรจน์. (2540). องค์การและการจัดการสำนักวิชาการ มหาวิทยาลัย
ธุรกิจบัณฑิตย์. กรุงเทพฯ: เทคนิค.
ศีริพร พันธุลีและคณะ. (2552) รายงานการวิจัยเรื่อง การวิจัยและพัฒนาการ
จัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อสร้างความเข้มแข็งโดยใช้กระบวนการ
มีส่วนร่วมของชุมชนห้วยหมาย อำภอสอง จังหวัดแพร่. เชียงใหม่ะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ศุภวรรษ เชื้อเมืองพาน และคณะ.(2556). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาเพื่อ
พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน กรณีศึกษาบ้านไร่กองขิง
ตำบลหนองควาย อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่:
มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
สกุลวงษ์กาฬสินธุ์. (2549) ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. นครราชสีมาะ
คณะมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
สมชาย เลี้ยงพรพรรณ. (2547). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาศักยภาพของ
แหล่งทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในบริวณทะเลสาบสงขลา
สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
สมฤดี นิโครวัฒนยิ่ง และสุจิตรา วาสนาดำรงตี บรรณาธิการ. (2550). จับ
สถานการณ์ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม. นนทบุรี: สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย.
สุรีย์ บุญญานุพงศ์ และคณะ. (2552). รายงานการวิจัยเรื่อง การจัดการท่องเที่ยว
ชุมชนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษาชุมชนประวัติศาสตร์
ขุนตาน อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เสรี พงศ์พิศ. (2546) ฐานคิดจากแผนแม่บทสู่วิสาหกิจชุมชน. กรุงเทพๆ: รังสีการ
พิมพ์.
เสรี พงศ์พิศ. (2551). แผนแม่บทชุมชน ประชาพิจัยและพัฒนา. กรุงเทพฯ: พลัง
ปัญญา.
สุดชีวัน นันทวัน ณ อยุธยา. (2551). การจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดย
ชุมชนเป็น ศูนย์กลาง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุดา ทัพสุวรรณ. (2530). การเป็นผู้นาในชุมชน. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและคำ
สอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สถาบันพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. (2548.) โครงการสัมมนา
เพื่อการวางแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์แบบ
บูรณาการอย่งยั่งยืนในจังหวัดระนอง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรี
นครินทรวิโรฒ.
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (2540). รายงานขั้น
สุดท้าย การดำเนินการเพื่อกำหนดนโยบายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ.
กรุงเทพฯ: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2537). สังคมวิทยาชุมชนะ หลักการศึกษาวิเคราะห์และ
ปฏิบัติงานชุมชน. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อัจฉรา สโรบล. (2547). การมีส่วนร่วมของชุมชนดอยเต่าในการพัฒนาภูมิปัญญา
ด้านสิ่งทอ. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
อนุชาติ พวงสำลี และอรทัย อาจอ่ำ. (2539.) การพัฒนาเครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิต
และสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
Buckley, R.C. (1994). A framework for ecotourism research. Annual of
tourism research Vol. 21No.3.
Boo. (1990). Ecotourism: The potentials and pitsfalls. Vol.1 and 2.
Workd Wildlife Fund: Washington D.C.
Ceballos-Lascurain, H. (1996). Tourism, ecotourism and protected
Areas: The state of nature based tourism around the world
and guidelines for its development. IUCN, Gland,
Switzerland, and Cambridge, United Kingdom.
Griffin, R.W. (1996). Management. 5th ed. Boston: Houghton Mifflin.
The Ecotourism Society. (1991). "The ecotourism society's definition".
The ecotourism society newsletter (Spring):1.