ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การบริการที่เป็นเลิศกับความสำเร็จ ทางการตลาดของธุรกิจสปาในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากลยุทธ์การบริการที่เป็นเลิศ
ของธุรกิจสปาในประเทศไทย 2) ศึกษาความสาเร็จทางการตลาดของธุรกิจสปาใน
ประเทศไทย และ 3) ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การบริการที่เป็นเลิศ กับ
ความสาเร็จทางการตลาดของธุรกิจสปาในประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็น
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารฝ่ายการตลาดของธุรกิจสปาใน
ประเทศไทย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ
วิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า
1) ธุรกิจสปา มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีกลยุทธ์การบริการที่เป็นเลิศ โดยรวม
อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน 2) ธุรกิจ
สปา มีความคิดเห็นด้วยเกี่ยวกับการมีความสาเร็จทางการตลาด โดยรวมอยู่ในระดับ
มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน 3) กลยุทธ์การบริการที่เป็น
เลิศ ด้านการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ด้านการส่งมอบบริการ ด้านการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ และด้านการพัฒนาเทคโนโลยี มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความสาเร็จ
ทางการตลาดโดยรวม โดยสรุป กลยุทธ์การบริการที่เป็นเลิศ มีความสัมพันธ์เชิงบวก
กับความสาเร็จทางการตลาด ด้านการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ด้านการส่งมอบ
บริการ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และด้านการพัฒนาเทคโนโลยี ส่วนด้านการสื่อสาร
การตลาดไม่มีความสัมพันธ์กับความสาเร็จทางการตลาดโดยรวม ดังนั้นธุรกิจสปา
ควรมีการส่งเสริมกลยุทธ์การบริการที่เป็นเลิศ ในด้านของการสื่อสารการตลาด เพื่อ
จะช่วยในเรื่องของการดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และช่วยให้ธุรกิจ
ประสบความสาเร็จทางการตลาดต่อไป
Article Details
References
เปรียบทางการแขงขันของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วิทยานิพนธ บธ.
ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2559). ฐานข้อมูลธุรกิจ. https://www.dip.go.th/th.
6 ตุลาคม 2559.
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2560). ธุรกิจสปา.
http://hss.moph.go.th/index2.php. มกราคม 2560.
จิตราภรณ์ คันทะภูมิ. (2558). ผลกระทบของกลยุทธ์การบริการสมัยใหม่ที่มีผลต่อ
การดาเนินงานของธุรกิจให้บริการงามในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บธ.
ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2548). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์เอ็กซเปอร์เนท.
ณชัยศักดิ์ จุณณะปิยะ. (2555). ตัวแบบความสัมพันธ์ของกลยุทธ์การมุ่งเน้นตลาด
กลยุทธ์นวัตกรรมทางการตลาดและความตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมทางการตลาดที่มีต่อการเพิ่มขึ้นของผลการดาเนินงาน
ทางการตลาดในโรงแรมระดับสี่และห้าดาวในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์
บธ.ด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสยาม.
นันทพร ตังคณิตานนท์. (2558). ผลกระทบของกลยุทธ์การบริการเชิงรุกที่มีผลต่อ
การดาเนินงานของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บธ.ม.
มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์
สุวีริยาสาส์น.
พสุ เดชะรินทร์. (2548). Balanced Scorecard รู้ลึกในการปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 8.
กรุงเทพฯ : คณะพานิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2543). ความสาคัญของการบริการ.
http://www.ihotelguru.com/index.php?option=com_k2
&view=item&id=34:service-importance. 6 ตุลาคม 2559.
ราม ปิยะเกตุ และคณะ. (2547). โครงการศึกษาวิเคราะห์พัฒนาการของ
ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. http://www.dbd.go.th/
images/content/total_01.html. 31 มีนาคม 2561.
รัชดามาศก์ สุดชิต. (2559). ความหมายของธุรกิจ SME.
https://sites.google.com/site/ratchadamat/khwam-hmay-khxngthurkic-
sme. 31 มีนาคม 2561.
วิบูลย์ แซ่จุง. (2557). ความสาเร็จของข้อมูลช่วยเพิ่มคุณค่าให้ธุรกิจ. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์เอ็กซเปอร์เนท.
ศิริ โอภาสพงษ์. (2554). ปัจจัยสู่ความสาเร็จขั้นสุดยอด. วารสารวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม
เอกภพ มณีนารถ. (2556). การตลาดบริการ. เอกสารประกอบการสอน. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสยาม.
ภาษาต่างประเทศ
Aaker, D.A., Kumar, V. and Day, G.S. (2001). Marketing Research. New
York : John Wiley & Son.
Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary Decision
Making. (4thed.). New York : John Wiley & Son, pp. 585.
Bogomolova, S. (2001). Service Quality Perceptions of Solely Loyal
Cusomers. International Journal of Market Research. 53(6) :
793-810.
Cortes, C.E. and Others. (2006). Strategic Groups in the Hospitality
Industry : Intergroup and Intragroup Performance Differences in
Alicante, Spain, Tourism Manangement. 27(6) : 1101-1116
Maltz, A., S.W. Shenhar and M. Reilly. (2009). Refining the Search foe
Organizational Success Measures. New York : Prince. Inc.
Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory. New York : McGraw-
Hill.rch. New York : John Wiley & Son.
Pevsner J. (2009). Bioinformatics and Functional Genomics. 2nded.
Hoboken. NJ : Wiley-Blackwell.
Song, J. and F.M. Zahedi. (2006). Internet Market Strategies :
Antecedents and Implications. Information and Management.
43(2) : 222-238.