การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ (ESP) ในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

พลิสา สุนทรเศวต

บทคัดย่อ

ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะควรมุ่งเน้นที่เป้าหมายในการเรียนของ
ผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนส่วนใหญ่ต้องการที่จะเรียนตามวัตถุประสงค์ของตนที่ต้องการนาไป
ทางาน รวมทั้งหัวข้อและเนื้อหาที่เรียนจะอยู่ในขอบเขตที่ผู้เรียนต้องการ และมี
ความสัมพันธ์กับอาชีพ ในขณะที่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้ความสาคัญกับทักษะ
และสมรรถนะของผู้เรียนมากกว่าตัวเนื้อหาความรู้ การจัดการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะในศตวรรษที่ 21 จึงจำเป็นต้องมีการบูรณาการ
สาระความรู้ของแต่ละวิชากับทักษะที่ผู้เรียนควรได้รับการเสริมสร้างขึ้นมาในศตวรรษ
ที่ 21 ผู้สอนเป็นผู้ออกแบบการเรียนรู้จำเป็นจะต้องมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการ
เลือกสรรเนื้อหาที่มีคุณค่าและสามารถแตกยอดความคิดแก่ผู้เรียนได้อย่างกว้างขวาง
บทความนี้นาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อ
วัตถุประสงค์เฉพาะในศตวรรษที่ 21

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

พลิสา สุนทรเศวต

อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

References

คณะกรรมาธิการนานาชาติว่าด้วยการศึกษาในศตวรรษที่ 21. (2540). การเรียนรู้ :
ขุมทรัพย์ในตน แปลจาก learning : the treasure within. โดยศรีน้อย
โพธิ์วาทองและคณะ. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ.
ทัตทริยา เรือนคา และ ยุทธศักดิ์ ชื่นใจชน. (2559, กรกฎาคม – ธันวาคม) การ
สารวจการรับรู้การเรียนภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะของวิทยาลัย
พณิชยการบึงพระพิษณุโลก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง. 5(2) :
77-94.
นัสยา ปาติยเสวีและบริภัทร กิจจาบัญชา. (2553). การศึกษาความจาเป็นในการ
เรียนภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ:
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ภาสกร เรืองรองและคณะ. (2557). Blended learning กับการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21. ค้นเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2560 จาก
http://nueducation2556.blogspot.com/2014/02/blendedlearning-
21.html
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2557). สี่เสาหลักของการศึกษา. ค้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2560
จาก www.curriculumandlearning.com/upload/สี่เสาหลักทาง
การศึกษา_1400078221.pdf
Dudley – Evans, T., and M. St. John. (2000). Developments in ESP : A
Multi-Disciplinary Approach. 2nd ed. Cambridge : Cambridge
University Press.
Hutchinson, T. and Waters, A. (1994). English for Specific Purposes: A
Learning Centred Approach. New York: Cambridge University
Press.
Hutchinson, T., and Waters, A. (1999). English for Specific Purposes.
Cambridge : Cambridge University Press.
Johnson, K. (1989). The second language curriculum. Cambridge:
Cambridge University Press.
National Council on Measurement in Education. (2012). Assessing 21st
Century Skills: Integrating Research Findings. Vancouver, B.C.
Pearson.
Thanh, M. T. T. (2016). A survey on problems in studying ESP faced by
the IT students at South-East Vocational College, Dong Nai
Province, Vietnam. Humanising Language Teaching. 18(1),
retrieved on 12 March, 2017 online from
http://www.hltmag.co.uk/feb16/mart06.htm.
The Partnership for 21st Skills. (2009). P21 Framework Definitions.
retrieved on 15 March, 2017 online from http://www.p21.org
/storage/documents/P21_Framework_Definitions.pdf
Tsao, C. H. (2011). English for specific purposes in the EFL context: A
survey of student and faculty perceptions. Asian ESP Journal.
7(1833-2994) :125-148.
Wongsothorn, A. (2001, December) English Curriculum Development for
Technology Institution of Higher Learning. Passa. 27–35.
Xu Yun-Chu. (1999, Supplement) A new ESP course in the present
Chinese context. English for Specific Purposes. 18:57-74.