การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในเพลงกันตรึม

Main Article Content

นันทิตา พิมพ์มา

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการวิเคราะห์ถ้อยคาอุปลักษณ์จากภาษาเขมรถิ่นไทยที่
ปรากฏในเพลงกันตรึม และวิเคราะห์มโนทัศน์ต่างๆ ที่สะท้อนจากถ้อยคาอุปลักษณ์ที่
ปรากฏในเพลงกันตรึม โดยใช้ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ปริชาน (Cognitive linguistic)
เรื่อง อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ (Conceptual Metaphor) ตามแนวคิดของเลคอฟและ
จอห์นสัน ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เพลงกันตรึมจากอัลบั้มรวมกันตรึมฮิตของค่าย
ไพโรจน์ซาวด์จานวน 10 อัลบั้ม มีเพลงทั้งสิ้น 124 เพลง ผลการศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโน
ทัศน์จากภาษาเขมรถิ่นไทยในเพลงกันตรึม พบว่าถ้อยคาอุปลักษณ์ที่ปรากฏในเพลง
กันตรึมมีจานวน 67 รูปภาษา ผู้วิจัยใช้เกณฑ์ทางความหมายในการจาแนกประเภท
ถ้อยคาอุปลักษณ์ แบ่งออกเป็น 7 ประเภท อุปลักษณ์ที่ปรากฏในเพลงกันตรึมทั้ง 7
ประเภท แสดงให้เห็นมโนทัศน์ของผู้ใช้ภาษาเขมรถิ่นไทยในเพลงกันตรึมซึ่งจัดเป็น
มโนทัศน์เกี่ยวกับครอบครัว โดยจาแนกเป็นมโนทัศน์ย่อยได้ 6 มโนทัศน์

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

นันทิตา พิมพ์มา, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

นักศึกษาคณะศิลปศาตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

References

กรกนก รัมมะอัตถ์. การเปรียบเทียบอุปลักษณ์ความรักในเพลงไทย
ลูกทุ่งกับเพลงไทยสากล.วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษา
มหาบัณฑิต. สาขาวิชาภาษาศาสตร์การศึกษา มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. 2556.
กิ่งแก้ว แห้วสุโน. อุปลักษณ์ในภาษาญ้อบ้านดงเย็น อาเภอเมือง
จังหวัดมุกดาหาร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต.
สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2552.
ธนพล เอกพจน์. อุปลักษณ์ความทุกข์ในภาษาไทย. ในการประชุม
วิชาการเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 15 :
50 ปี มข. กับการอุทิศเพื่อสังคม, หน้า 2330-2339.
28 มีนาคม 2557 ณ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น.
พรรณราย คาโสภา. กันตรึม กับเพลงประกอบการแสดงพื้นบ้าน
จังหวัดสุรินทร์. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบัน
ราชภัฏสุรินทร์. 2540.
ภูมิจิตร เรืองเดช. กันตรึมพื้นบ้านในจังหวัดบุรีรัมย์. บุรีรัมย์ : โครงการ
ศูนย์วัฒนธรรมท้องถิ่น กรมการฝึกหัดครู, 2529.
มิรินด้า บูรรุ่งโรจน์. อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับผู้หญิงในบทเพลง
ลูกทุ่งไทย. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชา
ภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคาใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
กรุงเทพมหานคร : แม็ค, 2550.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.
กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์, 2546.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554.
กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์, 2558.
รัชนีย์ญา กลิ่นน้าหอม. อุปลักษณ์ที่นักการเมืองไทยใช้ : การศึกษาตาม
แนวอรรถศาสตร์ปริชานและวัจนปฏิบัติศาสตร์. จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2551.
_______. “อุปลักษณ์ความสุขในบล็อกไทย.” วารสารสถาบันวัฒนธรรมและ
ศิลปะ. 28 (2556) : 132-138.
วิเศษ ชานประโคน. การวิเคราะห์กันตรึม : เพลงพื้นบ้านอีสานใต้.
วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาวิชาภาษาไทย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2539.
สงบ บุญคล้อย. การละเล่นพื้นบ้านกันตรึม สมบัติอีสานใต้. บุรีรัมย์ :
วิทยาลัยครูบุรีรัมย์, 2522.
สินีนาฏ วัฒนสุข. อุปลักษณ์แสดงอารมณ์รักในเพลงไทยสากลสาหรับ
วัยรุ่นไทย. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาศาสตร์เพื่อการสื่อสาร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์, 2549.
สุกัญญา สุจฉายา. เพลงปฏิพากษ์ : บทเพลงแห่งปฏิญาณของชาวบ้าน
ไทย. กรุงเทพมหานคร : สานักงานคณะกรรมการ
วัฒนธรรมแห่งชาติ, 2525.
สุนทร อ่อนคา. เจรียง กันตรึม : วิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมกลุ่มชน
เขมรอีสานใต้. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2551.
สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และอรวรรณ ภูอิสระกิจ. ลักษณะและการกระจาย
ของภาษาเขมรถิ่นไทย อดีต ปัจจุบัน อนาคตของพยัญชนะ
สะกด. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท
มหาวิทยาลัยมหิดล, 2539.
สุริยา รัตนกุล. อรรถศาสตร์เบื้องต้น. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและ
วัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, 2544.
หทัยวรรณ มณีวงษ์. อุปลักษณ์ที่เกี่ยวกับผู้ชายและผู้หญิงในเพลง
ลูกทุ่งอีสาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบณฑิต.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2555.
อมรรัตน์ พิเลิศ. การพัฒนาศิลปะการแสดงร่วมสมัยจากเพลงพื้นบ้าน
กันตรึม. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิจัย
เพื่อพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 2557.
อันธิกา ดิษฐกิจ และทัศนาลัย บูรพาชีพ. อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในบท
เพลงความรักที่ประพันธ์ โดยนิติพงษ์ ห่อนาค. วิทยานิพนธ์
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
, 2555.
อัษฎาวุธ ไสยรส. มโนอุปลักษณ์ความเป็นอีสานในบทเพลงลูกทุ่งอีสาน
ร่วมสมัย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต.
สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2558.
อุษา พฤฒิชัยวิบูลย์. การศึกษาอุปลักษณ์เรื่องการเมืองไทยตามแนว
อรรถศาสตร์ปริชาน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.
สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
2544.
เว็บไซต์ กรมศิลปากร. “กันตรึม”, คลังวิชาการ.
http://www.finearts.go.th. 23 สิงหาคม, 2560.