แบบจำลองการนำเสนอสาระพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นภควันตภาพ กรณีศึกษา: พิพิธภัณฑ์วัดพระหลวง จังหวัดแพร่ สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาภาคเหนือตอนบน

Main Article Content

คมกริช แม่นยำ
ทิพย์เกสร บุญอำไพ
พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ

บทคัดย่อ

กำรวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนำแบบจำลองกำรนำเสนอสำระ
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นภควันตภำพ กรณีศึกษำ: พิพิธภัณฑ์วัดพระหลวง จังหวัดแพร่
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำภำคเหนือตอนบน (2) ทดสอบประสิทธิภำพหน่วยกำร
เรียน (3) ศึกษำควำมพึงใจของนักเรียนต่อแบบจำลองฯ (4) ประเมินรับรอง
แบบจำลองฯ กลุ่มตัวอย่ำง คือ (1) ผู้เชี่ยวชำญด้ำนเทคโนโลยีกำรศึกษำ ด้ำนกำรสอน
สังคมศึกษำและด้ำนพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น 9 คน (2) นักเรียนมัธยมศึกษำปีที่ 5 โรงเรียน
สูงเม่นชนูปถัมภ์ จังหวัดแพร่ 40 คน ได้มำด้วยกำรสุ่มกลุ่มตัวอย่ำงแบบหลำยขั้น
เครื่องมือที่ใช้วิจัย ได้แก่ (1) แบบจำลองฯ (2) แบบทดสอบกำรจัดกิจกรรมกำร
เรียนรู้แต่ละหน่วย (3) แบบสอบถำมควำมพึงพอใจของนักเรียนฯ (4) แบบประเมิน
รับรองแบบจำลองฯ สถิติที่ใช้ในกำรวิจัย ได้แก่ ค่ำเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบน
มำตรฐำน E1/E2 ผลจำกกำรวิจัยพบว่ำ (1) แบบจำลองมี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1)
บริบท 2) ปัจจัยนำเข้ำ 3) ถ่ำยทอดควำมรู้และประสบกำรณ์ 4) ผลกำรเรียนรู้ 5) ข้อมูลป้อนกลับ
เพื่อปรับปรุง (2) ผลกำรทดลองหำประสิทธิภำพชุดกำรสอนเป็นไปตำมเกณฑ์ E1/E2 ทั้ง 9
หน่วย เป็นไปตำมเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนด (3) ควำมพึงพอใจของนักเรียนต่อแบบจำลองฯ ระดับ
ควำมพึงพอใจมำก (4) ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินรับรองแบบจำลองฯ อยู่ในระดับมำกที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

คมกริช แม่นยำ

นิสิตหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษำศำสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ทิพย์เกสร บุญอำไพ

รองศาสตราจารย์ ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
บูรพา

พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ

รองศาสตราจารย์ ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษำศาสตร์ มหาวิทยาลัย
บูรพา

References

คณะกรรมกำรดำเนินงำนพิพิธภัณฑ์วัดพระหลวง. สัมภำษณ์, 9 ตุลำคม 2560.
จำนงค์ แม่นยำ และคณะ. (2549). มรดกวัฒนธรรมวิถีชนวัดพระหลวง.
แพร่: เมืองแพร่กำรพิมพ์.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2555). หน่วยที่ 1 ภำพอนำคตกำรศึกษำไทย: สู่กำรศึกษำ
ภควันตภำพ. คู่มือกำรอบรมปฏิบัติกำรบูรณำกำรใช้คอมพิวเตอร์พกพำ
(Tablet) เพื่อยกระดับกำรเรียนกำรสอน. กรุงเทพฯ: สำนักเทคโนโลยี
เพื่อกำรเรียนกำรสอน สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). กำรวิจัยและพัฒนำนวัตกรรมทำงกำรศึกษำ.
[ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 9 กันยำยน 2562 จำก
www.educ.su.ac.th/2013/images/stories/210655_01.pdf.
ภูชิศ สถิตย์พงษ์. (2560). กำรพัฒนำระบบกำรสอนภูมิศำสตร์แบบภควันตภำพ
สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษำตอนต้น ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนล่ำง, ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญำดุษฎีบัณฑิต. สำขำวิชำเทคโนโลยีกำรศึกษำ
คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยบูรพำ.
Junqi, W., Yumei, Liu. and Zhibin, Liu. (2010) Study of Instructional
design in Ubiquitous Learning. In Second International
Workshop on Education Technology and Computer Science.
Nicholas, C. B. (2010). Ubiquitous Learning: Meaning of Ubiquitous
Learning. America: University of Illinois, Urbana and Chicago.
Watson, C.E. and Plymale, W. O. (2012). Ubiquitous Learning, Students
Culture and Constructivist Pedagogical Practice. Proceedings
of Ubiquitous Learning: Strategies for Pedagogy, Course Design
and Technology.