ภาพสะท้อนความเป็นจีนที่ปรากฏในตัวละครแนวคนธรรมดาสามัญ กรณีศึกษาเกิ่งซิงกวง จากละครโทรทัศน์ เรื่องซิงกวงชั่นลั่น

Main Article Content

ลลิดา วิษณุวงศ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภาพสะท้อนความเป็นจีนที่ปรากฏในตัวละครแนวคนธรรมดาสามัญ (小人物) กรณีศึกษาเกิ่งซิงกวง (耿星光) จากละครโทรทัศน์ เรื่องซิงกวงชั่นลั่น (星光灿烂) ผลการศึกษาพบว่า ภาพสะท้อนความเป็นจีนที่ปรากฏสามารถเชื่อมโยงบริบททางวัฒนธรรมจีนที่เป็นแก่นแท้ของการดำเนินชีวิต ซึ่งมี 4 ประเด็น ได้แก่ 1. ความรักและความเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ 2. คุณธรรมและจริยธรรม 3. ความกตัญญู และ 4. การมีอิทธิพลเชิงบวกต่อคนรอบข้าง ตัวเอกเกิ่งซิงกวงจึงเป็นภาพตัวแทนในการนำเสนอสิ่งที่สังคมจีนในปัจจุบันควรรักษาไว้ เพื่อให้เห็นความสำคัญความเมตตาต่อผู้อื่น ความเห็นใจต่อเพื่อนมนุษย์ อนึ่ง คุณธรรมและจริยธรรมอันดีนี้เป็นสิ่งที่อยู่ในวัฒนธรรมดั้งเดิมของจีน ที่ควรค่าแก่การรักษา มนุษย์จะเป็นคนที่สังคมยอมรับ ไม่ได้อยู่ที่เป็นคนเก่งหรือไม่เก่ง แต่ขึ้นอยู่กับการเป็นคนดีหรือไม่ดี ซึ่งคำว่า “ดี” เป็นมาตรฐานทางจริยธรรมที่ปรากฏอยู่ในตัวละครตัวนี้


 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ลลิดา วิษณุวงศ์, คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

 

References

กมลชนก โตสงวน. (2565). ภาพลักษณ์ของสตรีจีนยุคใหม่วัยสามสิบที่สะท้อนผ่านละครโทรทัศน์ เรื่อง “ซานสือเอ๋อร์อี่”. วารสารการวิจัยกาสะลองคำ, 16(1), 83-96. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/ksk/article/view/252281

จูดิธ พี. ซินเซอร์ (Judith P. Zinsser). (2538). ตีแผ่ประวัติศาสตร์ การศึกษาและคุณธรรม—เหตุใด เรื่องฟอร์เรส กัมพ์ จึงได้รับ ความนิยมอย่างมาก? (Real History, Real Education, Real Merit— or Why Is “Forest Gump” so popular?). วารสารประวัติศาสตร์สังคม (Journal of Social History), (29), 91-97.

เซียวเจิ้นอี่ว์ และหลี่จยาฮุ่ย (肖振宇,李嘉慧). 2560. การเรียนรู้และการข้อคิดภายใต้ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม กรณีศึกษาบทละครโทรทัศน์ เรื่อง ซิงกวงชั่นลั่น ที่ได้รับอิทธิพลจาก เรื่อง บันทึกประจำวันของคนบ้า (文明冲突下的启蒙与善诱——电视剧《星光灿烂》对《狂人日记》笔法的继承). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยครุศาสตร์จี๋หลิน (吉林师范大学学报 (人文社会 科学版)), ปี พ.ศ. 2560 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนกันยายน-ตุลาคม (2017年9月第 5 期), 81-85.

ธเนศ เวศร์ภาดา. (2560). ความคิดเดินทาง เล่ม 1 รวมบทความภาษา วรรณคดี สารคดี ละคร การวิจารณ์ การแปล. บริษัท แซทโฟร์ พริ้นติ้ง จำกัด: กรุงเทพฯ.

นิโรธ จิตวิสุทธิ์. (2564). วิถีแห่งเต๋า โดย เหลาจื่อ. ก้าวแรก: กรุงเทพฯ.

ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์. (2548). คัมภีร์เต๋าของจวงจื่อ. บริษัทสร้างสรรค์บุ๊คส์ จำกัด: กรุงเทพฯ.

ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์. (2556). แนวทางแห่งสันติวิธีในปรัชญามั่วจื่อ: ความรัก ความเท่าเทียม ผลประโยชน์ และครรลองธรรม. วารสารจีนศึกษา, 6(1), 25-52. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CSJ/article/view/55007

ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์, ทอแสง เชาว์ชุติ, ธนภาษ เดชพาวุฒิกุล, ธนาพล ลิ่มอภิชาต, รชฎ สาตราวุธ, อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล, จณิษฐ์ เฟื่องฟู, อุทัช เกสรวิบูลย์, เสาวณิต จุลวงศ์, มลธิรา ราโท, นันธนัย ประสานนาม และพจน์ปรีชา ชลวิจารณ์. (2559).

ถกเถียงเรื่องคุณค่า. กรุงเทพ ฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

เฝิงโหย่วหลาน (冯友兰). (2563). ประวัติปรัชญาจีน (中国哲学简史). สำนักพิมพ์จงหวาซูจี๋ว์ (中华书局) : ปักกิ่ง (北京).

ฟื้น ดอกบัว. (2563). ปวงปรัชญาจีน. กรุงเทพ ฯ: สำนักพิมพ์ศยาม

ริชาร์ด เจ. คริพส์ (Richard J. Crisp). (2563). จิตวิทยาสังคม [Social Psychology] (ทิพย์นภา หวนสุริยา, แปล). กรุงเทพฯ: บุ๊คสเคป. (ต้นฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. 2015).

วุฒิพงษ์ ประพันธมิตร, กนกพร นุ่มทอง และศิริวรรณ ลิขิตเจริญธรรม. (2565). ภาพลักษณ์ความเป็น “วีรบุรุษ” ใน วรรณกรรมเยาวชนจีน เรื่อง เรื่องราวของเหลยเฟิง. วารสารร่มพฤกษ์, 40(1), 313-330.

https://so05.tci-thaijo.org/index.php/romphruekj/article/view/254575

วิจิตพาณี เจริญขวัญ. (2560). ระบบและทฤษฎีทางจิตวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ ฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง:

หนิงจี้หมิง (บ.ก.) (宁继鸣 (主编)) . (2561). สำรวจประเทศจีน (中国概况) . สำนักพิมพ์มหาวิทยลัยภาษาและวัฒนธรรม ปักกิ่ง (北京语言大学出版社) : ปักกิ่ง (北京).

หลี่หงเจิน และหลี่จิงจิง (李红珍,李菁菁 (编辑)). (2558). คัมภีร์หลุนอี่ว์: กวีนิพนธ์คลาสสิกที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ ของเด็ก (论语:影响孩子一生的国学启蒙经典) . สำนักพิมพ์เทียนตี้ (天地出版社) : เฉิงตู (成都).

อติชาติ คำพวง และ อรอนงค์ อินสอาด. (2562). ปรัชญาของขงจื่อกับการจัดระเบียบทางสังคม: การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์หลุนอี่ว์. วารสารภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม. 8(2), 126-164.

Oxford University Press. (2023, February 15). American dream. Oxford Learner’s Dictionaries. https://www.oxfordlearnersdictionaries.com/us/definition/english/the-american-dream

กู่ซือเหวิน (古诗文网). (15 กุมภาพันธ์ 2566). ตัวบทเหวยหลูเยี่ยฮว่า (围炉夜话). กู่ซือเหวิน (古诗文网). https://so.gushiwen.cn/guwen/book_46653FD803893E4F0BF2907FDC384E24.aspx

สารานุกรมไป่ตู้ไป่เคอ (百度百科). (30 เมษายน 2566). ละครโทรทัศน์เรื่อง ซิงกวงชั่นลั่น (星光灿烂). https://baike.baidu.com/item/星光灿烂/9079455