กลยุทธ์การบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในระดับเมืองรอง เพื่อรองรับนโยบายการท่องเที่ยวยุคดิจิทัล

Main Article Content

ลดา ภารประดิษฐ
พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม
อาริยา ป้องศิริ

บทคัดย่อ

        การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำกลยุทธ์การบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในระดับเมืองรอง ที่ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ไปใช้ในการบริหารจัดการในพื้นที่ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ วิสาหกิจชุมชนโฮมสเตย์ ในจังหวัดเมืองรองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 18 จังหวัด จำนวน 279 คน ใช้ระเบียบวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติอนุมาน ได้แก่ค่าความถี่, ค่าสถิติร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบปกติ (Enter Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การจัดการโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ =  4.46) เมื่อมีการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร พบว่าทุกการเพิ่มขึ้นของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural Tourism) เพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะทำให้นโยบายการท่องเที่ยวยุคดิจิทัล (Digital Tourism) เพิ่มขึ้น 0.08 หน่วย ทุกการเพิ่มขึ้นของกลยุทธ์การจัดการ (Management strategy) เพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะทำให้นโยบายการท่องเที่ยวยุคดิจิทัล (Digital Tourism) เพิ่มขึ้น 0.05 หน่วย ข้อเสนอแนะในการพัฒนาการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในระดับเมืองรองต้องส่งเสริมการพัฒนาองค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและกลยุทธ์การจัดการ

Article Details

How to Cite
ภารประดิษฐ ล., แก้วหานาม พ., & ป้องศิริ อ. (2024). กลยุทธ์การบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในระดับเมืองรอง เพื่อรองรับนโยบายการท่องเที่ยวยุคดิจิทัล. มนุษยสังคมสาร (มสส.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 22(2), 81–94. https://doi.org/10.14456/jhusoc.2024.17
บท
บทความวิจัย

References

Arvid, V., Emily, H., & Bryan S.R. G. (2021). Cultural Sensitivity: Engaging difference in tourism. Annals of Tourism Research, 89(103223). https://doi.org/10.1016/j.annals.2021.103223

Fotis, K., Eleftheria, M., Eleni, M., & Maria, K. (2022). User-Generated Content behavior and digital tourism services: ASEM-neural network model for information trust in social networking sites. International Journal of Information Management Data Insights. 2(1). DOI: 10.1016/j.jjimei.2021.100056

Greg, R. (2018). Cultural Tourism: A review of recent research and trends. Journal of Hospitality and Tourism Management, 36(12-21). https://doi.org/10.1016/j.jhtm.2018.03.005

Jing, L., Philip, L. P., & Her, O. (2020). Can digital-free tourism build character strengths. Annals of Tourism Research, 85(103037). https://doi.org/10.1016/j.annals.2020.103037

Noppon, A. (2021). The Guidance for Developing a Collaborative Governance Model and Promoting Cultural Tourism Management within the Northeastern Phu-tai Ethnic Communities. Journal of Social Sciences and Humanities, 47(2), 85-100. [in Thai]

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed.). McGraw-Hill.

Mopraprad, N. (2022). Application of technology and innovation for the hotel industry in the digital age. Western University Research Journal Humanities and Social Sciences, 8(1), 251-266. [in Thai]

Susanne, M., Sandra, F., & Mika, K. (2021). Digital transformation in tourism: Modes for continuing professional development in a virtual community of practice. Project Leadership and Society, 2(100034). https://doi.org/10.1016/j.plas.2021.100034

Udomthanasansakul, P. (2021). Influence of government policy and crisis management on strategies. Carrying out the work of small and medium sized enterprises Service sector in Chiang Mai province During the crisis of COVID-19 epidemic. Maejo University. [in Thai]

Wang, Q., Li, Y., & Zhonggang, Y. (2022). Research on development of digital finance in improving efficiency of tourism resource allocation. Resources, Environment and Sustainability, 8(100054). https://doi.org/10.1016/j.resenv.2022.100054