บริบทสภาพทางภูมิศาสตร์และวิถีชีวิตของชุมชน บ้านหัวเรือ จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

สุรพล ปอน์ด ซาเสน

บทคัดย่อ

           ชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานในบริบทเชิงพื้นที่ท้องถิ่นซึ่งกระจายอยู่มีวิถีชุมชนการดำรงอยู่และการปรับตัวของชุมชนภายใต้สภาพแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรม และมีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ต่อการเคลื่อนย้าย การกระจายและการตั้งถิ่นฐานของชุมชนบ้านหัวเรือในพื้นที่ที่มียุทธศาสตร์และอยู่ไม่ห่างไกลจากตัวเมือง  การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทและวิธีชีวิตของชุมชนบ้านหัวเรือ จังหวัดอุบล ราชธานี  และเพื่อเป็นข้อเสนอแนะในการเข้าใจบริบทและวิถีชุมชนกลุ่มเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจและกลุ่มเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อจำหน่ายสินค้าผ่านระบบออนไลน์ ในยุคดิจิทัล กลุ่มเป้าหมายคือกลุ่มเกษตรกรและปราชญ์ผู้นำชุมชน จำนวน 25 คน  โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึกและสนทนากลุ่มย่อย การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยพรรณนาวิธีผลการวิจัยสามารถวิเคราะห์และจำแนกออกเป็น    6 ด้าน  ดังนี้ 1) ด้านบริบทสภาพทั่วไป 2) ด้านบริบทสภาพทางภูมิศาสตร์ทางกายภาพ 3) ด้านบริบทเชิงพื้นที่และแผนที่ชุมชน 4) ด้านลักษณะการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการสร้างรายได้ในยุคดิจิทัลของชุมชน 5) ด้านแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วยทักษะทางสังคมของชุมชน และ 6) ด้านลักษณะการดำเนินวิถีชีวิตและคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน และข้อเสนอแนะวิถีชีวิตชุมชมต้องปรับตัวต่อเปลี่ยนแปลง และจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้สร้างรายได้อย่างเหมาะสม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Chantavanich, S. (2011). Theory of sociology (4th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai]

Damrong Rajanupab Institute. (2012). Knowledge document on applied area-based rural development. According to the royal initiative (Pidding gold behind the Buddha statue, continuing the royal initiative). Bangkok: Office of the Permanent Secretary for Interior.

E.Super, D. (2008). Opportunity in psychology careers (3rded.). New York: McGraw Hill.

Meechat, W. (2005). Public organization administration behavior. Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai]

Mukwatanakul, O. (2016). Thesis on factors influencing the change in income of People in the special economic zone development area, Nong Khai, Mukdahan, Mae Sot. [Master of Economics]. Business Economics, Faculty of Economics. Thammasat University. [in Thai]

Office of the Secretariat of the House of Representatives. (2016). Report of the National Reform Steering Committee on State Administration. National reform-driven council on administrative issues Management of the province that aims to achieve results based on the area (Area-based Approach).Bangkok: Office of Commissioner 2. [in Thai]

Pimchangtong, D., & Sutthisanon, A. (2015). Research articles on human resource development in learning for local business competition to a learning society. Suthiparitat Journal, 29(90). [in Thai]

Tanchai, W. (2014). Decentralization and Democracy in Thailand (1st ed.). Bangkok: King Prajadhipok's Institute. [in Thai]

Wasi, P. (2016). Public policy process. Bangkok: Miyon Pim Leasing. [in Thai]