บทบาทของผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ในการตัดสินใจทางการเมืองแบบวิถีประชาธิปไตย: กรณีศึกษา การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดและ สมาชิกสภาจังหวัดอุบลราชธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยสภาพแวดล้อมทางการเมือง ของผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 2) การตัดสินใจทางการเมืองแบบวิถีประชาธิปไตย ของผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี และ 3) บทบาทของผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีในการตัดสินใจทางการเมืองแบบวิถีประชาธิปไตย: กรณีศึกษาการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดและสมาชิกสภาจังหวัดอุบลราชธานี ตัวอย่างในการวิจัยเป็นผู้นำนักศึกษา จำนวน 132 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กลุ่มเป้าหมายในการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นผู้นำนักศึกษา เลือกแบบเจาะจง จำนวน 10 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยสภาพแวดล้อมทางการเมือง โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการพัฒนาทางการเมือง 2) การตัดสินใจทางการเมืองแบบวิถีประชาธิปไตย โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ บทบาทการเป็นผู้สังเกตการณ์ทางการเมือง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
Election Commission of Thailand. (2021). Election commission of Thailand. Recruitment manual local council members or local administrators: Election Management and Voting Department. [in Thai]
Kenaphoom, S. (2016). Political decision on the democratic way of life: Concept and forms. Humanities & Social Sciences, 33(2), pp. 89-119. [in Thai]
Khantikul, P. (2010). A political participation model of the people in Dusit District, Bangkok. Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University. [in Thai]
Krejcie, R. V. & Morgan & D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), pp. 607-610.
Nuchaudom, C & Paranakian, K. (2019). Criteria for decision making in selecting local representative. Pathumthani University Academic Journal, 11(2), pp. 32-44. [in Thai]
Panyapa, R., Wuthikaro, S. & Supasorn, P. (2015). The application of concept on dignity in Thai society according to buddhist perspective. Humanities and Social Sciences Khon Kaen University, 32(3), pp. 1-20. [in Thai]
Thangjuong, Y. (2006). The democratic political culture of the student of Uttaradit Rajabhat University students. Uttaradit: Uttaradit Rajabhat University. [in Thai]
Uwanno, B & Burikul, T. (2007). Participatory democracy. Bangkok: printing press of Chulalongkorn University. [in Thai]
Wiset, S. (2012). Political participation process of undergraduate students in public administration program, Faculty of Arts and Science, Nakhon Phanom University. Nakhon Phanom University Journal, 2(1), pp. 5-12. [in Thai]
Srisa-ard, B. (2002). Basic rresearch. (9th edition). Bangkok: Suwiriyasan Co., Ltd. [in Thai]