มุมมองเชิงทฤษฎขีองการน านโยบายไปปฏบิัต
Main Article Content
บทคัดย่อ
การน านโยบายไปปฏิบตัิสามารถแยกออกเป็น 3แนวทาง ไดแ้ก่1)การนา นโยบายไป
ปฏิบตัิแบบบนลงล่าง เป็นแนวทางที่ใหค้วามสา คญั ที่ตวันโยบายและการควบคุมการนา นโยบายไป
ปฏิบตัิโดยผกู้า หนดนโยบายมีความสา คญั ต่อความสา เร็จต่อการนา นโยบายไปปฏิบตัิหรือเรียกวา่
แนวทางศูนย์กลางนโยบาย โดยนโยบายถูกกา หนดข้ึนจากส่วนบนและถูกแปลงไปสู่การปฏิบตัิ
เพื่อใหผ้ ปู้ ฏิบตัิระดบัล่างนา ไปปฏิบตัิ2)การนา นโยบายไปสู่การปฏิบตัิแบบล่างข้ึนบน เป็นแนวคิด
ที่ใหค้วามสา คญั กบั ตวัผปู้ ฏิบตัิระดบัล่างวา่ เป็นผทู้ี่มีอิทธิพลต่อความสา เร็จในการนา นโยบายไป
ปฏิบตัิมากกวา่ การควบคุมจากเบ้
ืองบน ท้
งัน้ีเนื่องจากผปู้ ฏิบตัิงานในพ้
ืนที่ หรือเจา้หนา้ที่สามารถ
ใชดุ้ลยพินิจและใกลช้ิดกบั ปัญหามากกวา่ ส่วนบน และ3)การนา นโยบายไปปฏิบตัิแบบผสมผสาน
เป็นแนวทางการนา นโยบายไปปฏิบตัิแนวทางใหม่ที่เกิดข้ึนมาท้
งัน้ีเพื่อหลีกเลี่ยงจุดอ่อนหรือขอ้ ดอ้ย
ของท้งัสองแนวทาง ไดแ้ก่ การนา ส่วนที่เป็นจุดเด่นของแนวทางบนลงล่าง ซ่ึงไดแ้ก่ องคป์ ระกอบ
การบริหารงานที่มีประสิทธิผลเป็นจุดเริ่มตน้ หลงัจากน้นั ไดน้ า จุดแขง็ของแนวทางล่างข้ึนบนและ
องค์ประกอบจากตัวแบบหรือทฤษฎีอื่นมาผสมผสาน ท าให้เป็ นที่มาของตัวแบบการน านโยบาย
ไปสู่การปฏิบตัิที่เรียกวา่ แนวทางแบบผสมผสาน
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
สุโขทัยธรรมาธิราช.
จุมพล หนิมพานิช. (2554). การน านโยบายไปสู่การปฏิบัติ มุมมองในทัศนะทางรัฐศาสตร์ การเมือง
และรัฐประศาสนศาสตร์ การบริหาร และกรณีศึกษาของไทย. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
_________. (2552). การวิเคราะห์นโยบาย:ขอบข่าย แนวคิด ทฤษฎี และกรณีตัวอย่าง (พิมพ์คร้ัง
ที่ 4). นนทบุรี: โครงการส่งเสริมการเขียนตา รา สา นกัวชิาการมหาวทิยาลยั
สุโขทัยธรรมาธิราช.
เรื่องวิทย์ เกษสุวรรณ. (2551). การน านโยบายไปปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์จา กดั.
วรเดช จันทรศร. (2554). ทฤษฎีการน านโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ(พิมพค์ร้ังที่5). กรุงเทพฯ:
พริกหวานกราฟฟิ ค.
_________ . (2556). ทิศทางและอนาคตของการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัย
ชินวัตร.ศุภชัย ยาวะประภาษ และ ปิ ยากร หวังมหาพร. (2555). นโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่นไทย.
กรุงเทพฯ: ปิ ยากร หวังมหาพร.
__________. (2552). นโยบายสาธารณะ. (พิมพ์คร้ังที่8). กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
Barrett, S. & Fudge, C. (1981). Policy and action: Essays on the implementation of public
policy. London: Methuen.
Goggin, M. L., Bowman, A. O. Lester, J. P. & O’Toole L. J. Jr. (1990). Implementation theory
and practice: Toward a third generation. New York: Harper Collins, Inc.
Pulzl, H. & Treib, O. (2007). Implementing public policy. In Handbook of Public Policy
Analysis: Theories Politics and Method. Fischer, F., Miller, G. J. & Sidney, M. S.
(Eds.). New York: CRC Press.
Sabatier, P. A. & Mazmanian, D. (1983). The conditions of effective implementation: A guide
to accomplishing policy objective. Policy Analysis, 5(4), pp.481-504.