กลวิธีการกล่าวขอโทษในนวนิยายไทย

Main Article Content

วัฒนา แช่มวงษ์
วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์
วิภาวรรณ อยู่เย็น

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลวิธีการกล่าวขอโทษที่ปรากฏในนวนิยายทั้ง 5 ช่วงสมัย (ตั้งแต่ปีพ.ศ.2444 – 2555) จำนวน 40 เรื่อง ผลการวิจัย พบว่า การกล่าวขอโทษในนวนิยายไทยมี 2 ประเภท คือ 1) การกล่าวขอโทษแบบตรง ที่ปรากฏถ้อยคำแสดงเจตนาในการขอโทษ เช่น“ขอโทษ” “เสียใจ”และ 2) การกล่าวขอโทษแบบอ้อม ซึ่งจะไม่ปรากฏคำว่า“ขอโทษ” “เสียใจ” แต่จะใช้ถ้อยคำอื่นที่แสดงเจตนาในการขอโทษ ซึ่งกลวิธีการกล่าวขอโทษในนวนิยายไทยมี 7 กลวิธี ได้แก่ 1) การกล่าวถ้อยคำแสดงเจตนาขอโทษ 2) การให้เหตุผล 3) การยอมรับผิด 4) การกล่าวแก้ตัว 5)การเสนอชดใช้ 6) การทำให้ผู้ฟังรู้สึกดีขึ้น และ 7) การขอร้อง

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

วัฒนา แช่มวงษ์

คณะศิลปศาสตร์  พื้นที่เพาะช่าง  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

References

ก.สุรางคณางค์ (นามแฝง). (2546). ความคิดคำนึง. กรุงเทพฯ: ณ บ้านวรรณกรรม
_______. (2531). หญิงคนชั่ว. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
กนกวลี พจนปกรณ์. (2547). จะเก็บรักไว้มิให้หลุดหลอย. กรุงเทพฯ: เพื่อนดี.
_______. (2549). ซอย 3 สยามสแควร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เพื่อนดี.
เข็มพลอย. (2554). โถงสีเทา. กรุงเทพฯ: เพื่อนดี
แขคำ ปัณณศักดิ์. (2533). นิยายในสายหมอก. กรุงเทพฯ: เพื่อนดี.
จรีรัตน์ เพชรัตนโมรา. (2544). การศึกษาการขอโทษของผู้ที่มีสถานภาพทางสังคมต่างกันในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดวงใจ (นามแฝง). (2517). บ่วงกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บรรณกิจเทรดดิ้ง.
_______. (2544). www.คุณย่า.com. กรุงเทพฯ: อักษรโสภณ.
ดอกไม้สด. (2514). ศัตรูของเจ้าหล่อน. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา.
_______. (2514). ผู้ดี. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา.
ทมยันตี (นามแฝง). (2552). นางเอก เล่ม1-2. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: ณ บ้านวรรณกรรม.
ทัศนีย์ เมฆถาวรวัฒนา. (2541). วัจนกรรมการขอโทษในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิจ นันทวัน. (2505). ความผิดครั้งแรก.พิ มพ์ครั้งที่ 2. พระนคร: แพร่พิทยา.
ปิยะพร ศักดิ์เกษม. (2543). ใต้เงาตะวัน. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: พิมพ์คำ.
พ. เนตรรังสี (นามแฝง). (2507). โลกละคร. ธนบุรี: กรุงธน.
รพีพร (นามแฝง). (2520). ขอจำจนวันตายเล่ม 1-2. กรุงเทพฯ: บำรุงสาส์น.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2556). วรรณกรรมปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
_______. (2548). “ภูมิหลังนวนิยายไทย” ในทางสายใหม่แห่งวรรณกรรมไทย: ทัศนวิจารณ์ต่อนวนิยายยุคแรก.กรุงเทพฯ: ชมนาด.
เรียมเอง (นามแฝง). (2548). เมืองนิมิต.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: กระท่อมป.ล.
วรวรรณ เฟื่องขจรศักดิ์. (2548). ศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีการขอโทษของคนญี่ปุ่นและคนไทย.วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาญี่ปุ่นศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศรีบูรพา (นามแฝง). (2548). โลกสันนิวาสและชีวิตสมรส. พิมพ์รวมเล่มครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มติชน.
โสภาค สุวรรณ (นามแฝง). (2540). ปมพิศวาส เล่ม1-2. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.
หลวงวิจิตรวาทการ,พลตรี. (2522). อมตะนิยาย 3 เรื่อง 3 รส “บุรุษอาธรรม์”.พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: เสริม
มิตรบรรณาคาร.
อันธิกา ธรรมเนียม. (2549). การแสดงวัจนกรรมการขอโทษของทหารบก. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อากาศดำเกิง, หม่อมเจ้า. (2546). ละครแห่งชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
อุดม รุ่งเรืองศรี. (2527). สภาพของวรรณกรรมไทยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ศิลปาคาร.
อุปถัมภ์ กองแก้ว. (2554). ตลาดอารมณ์. กรุงเทพฯ: แสงดาว.
Bergman, M. L, and Kasper, G. (1991). The Interlanguage of Apologizing Cross-cultural Evidence. Hawaii Working Paper. (10): 139-176.
Brown, P. and Levinson, S. C. (1987). Politeness: Some Universals in Language Usage. Cambridge: Cambridge University Press.
Chen, R. (2001). Self- Politeness : A proposal. Journal of Pragmatics. (33): 87-106.
Cohen, A. D. and Elite, O. (1981). Developing a Measure of Socio-cultural Competence: The Case of Apology. Language Learning. (31): 113-34.
Holmes, J. (1990). Apologies in New Zealand English. Language in Society. (19): 155-159.
Songthama Intachakra. (2001). Linguistic Politeness in British English and Thai : A Comparative Analysis of Three Expressive speech Scts. Ph.D. Thesis. London: University of London.