รูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษา สังกดัส านักงานเขตพ ื น้ ทกี่ ารศึกษา ประถมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Main Article Content

สุภัคพร เรือโป๊ะ
ศักดิ์ชัย ภู่เจริญ
สุภาพ ผู้รุ่งเรือง

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการนิเทศภายในสถานศึกษา เพื่อสร้าง
รูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาและประเมินรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษา สังกดั
สา นกังานเขตพ้
ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือการวจิยัมี3 ข้
นั ตอน คือ1
การศึกษาองค์ประกอบของการนิเทศภายในสถานศึกษา 2การสร้างรูปแบบการนิเทศภายใน
สถานศึกษา 3การประเมินรูปแบบของการนิเทศภายในสถานศึกษา เครื่องมือวจิยั ไดแ้ก่แบบ
สัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง แบบประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความเป็น
ประโยชน์ การวิเคราะห์ขอ้ มูลใชค้ ่าสถิติร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวเิคราะห์
เชิงเน้
ือหาผลการวิจยัพบวา่ 1) การนิเทศภายในสถานศึกษา มี 8องค์ประกอบ 75 ตวับ่งช้ีคือ
การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการนิเทศ มี 5 ตวับ่งช้ีการวางแผนนิเทศ มี10 ตวับ่งช้ี
การใช้สื่อ เทคโนโลยี เครื่องมือการนิเทศ มี10 ตวับ่งช้ีการปฏิบตัิการนิเทศ มี10 ตวับ่งช้ี
การเสริมสร้างขวญั และกา ลงัใจ มี8 ตวับ่งช้ีการประเมินและการน าผลการนิเทศไปใช้มี 12 ตัว


บ่งช้ีการรายงานผลการนิเทศ มี10 ตวับ่งช้ีการเผยแพร่และขยายผลการนิเทศ มี10 ตวับ่งช้ี 2)
รูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษา มี 6องค์ประกอบ คือ วัตถุประสงค์หลักการกลไก
การด าเนินการกระบวนการนิเทศการประเมินผล และเงื่อนไขความส าเร็จ ผลการประเมิน
ความเหมาะสม ความเป็ นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบ พบวา่ อยใู่ นระดบั มากที่สุด
และ มีค่ามากกวา่ เกณฑ์3.5 อยา่ งมีนยัสา คญั ที่ระดบั .05แสดงวา่ รูปแบบมีความเหมาะสม
ในการน าไปใช้

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

สุภัคพร เรือโป๊ะ

Miss Suphakkhapon Ruepo
Ph.D. candidate of Philosophy of Educational Administration
Graduate School, Nakhon Ratchasima Rajabhat University
Buriram Primary Educational Service Area office 3
Tel.: 081-4708375 E-Mail: [email protected]

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่2) พ.ศ.2545 พร้ อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษา
ภาคบังคับ พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ร.ส.พ.

________. (2555).แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559).
กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.

กรองทอง จิรเดชากุล. (2550). คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : ธารอักษรการพิมพ์.
กิติมา ปรีดีดิลก. (2532). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : อักษรพิพัฒน์.
เก็จกนกเอ้ือวงศ.์ (2555). การนิเทศในสถานศึกษา.ค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2559 จาก
https://mystou.files:.wordpress.com/2012/02/2503-8-t.pdf.

ชญากาญจธ์ ศรีเนตร และคณะ. (2558). รูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาสังกัดส านักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 25. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ชาญณรงค์พรรุ่งโรจน์. (2559). ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.).
ค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2559 จาก https://www.manager.co.th/QOL/viewnews.aspx?

ธีระ รุญเจริญ. (2550). การบรรยายรายวิชาสัมมนาการบริหารการศึกษาเรื่อง “รูปแบบและ
องค์ประกอบของรูปแบบ”. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.

พิชิต ฤทธ์ิจรูญ และคณะ. (2552). สภาพปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน
ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน.กรุงเทพฯ : ส านักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.เพิ่มพูน ร่มศรี. (2558). การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในที่มีประสิทธิผล ส าหรับโรงเรียน สังกัด
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้ อยเอ็ด เขต 1. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารจัดการการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วรรณดี สุธาพาณิชย์. (2557). การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในโรงเรียน ระดับประถมศึกษา
จังหวัดชายแดนภาคใต้. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหาร
การศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
วชัรา เล่าเรียนดี. (2556). ศาสตร์ การนิเทศการสอนและการโค้ช.คณะศึกษาศาสตร์
(พิมพค์ร้ังที่12). นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สงัด อุทรานันท์. (2530). การนิเทศการศึกษา หลักการ ทฤษฎีและปฏิบัติ (พิมพค์ร้ังที่3). กรุงเทพฯ
: มิตรสยาม.
สถาบนั ทดสอบการศึกษาแห่งชาติ(องคก์ ารมหาชน). (2559). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ปี การศึกษา 2558. ค้นเมื่อ
20 พฤษภาคม 2559จากhttps://www.onetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/PDF/
SummaryONETP6_2558.pdf.

สมาน อัศวภูมิ (2558) (2558). รูปแบบการบูรณาการระบบการประกันคุณภาพภายในกับการบริหาร
สถานศึกษาส าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขนาดกลาง (พิมพค์ร้ังที่2) อุบลราชธานี :
อุบลออฟเซทการพิมพ์.

สา นกังานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2534). คู่มือบริหารโรงเรียนการด าเนินการ
นิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
________ . (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ : คุรุสภา
ลาดพร้าว.สา นกังานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน. (2555). การพัฒนากระบวนการนิเทศภายใน
สถานศึกษา.กรุงเทพฯ :คุรุสภา.

สา นกังานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). ร่ างแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564).กรุงเทพฯ : ส านักงานเลขาธิการ
สภาการศึกษา.

ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแห่งชาติ. (2552). สรุปผลการด าเนินงาน 9 ปี ของการปฏิรูป
การศึกษา (พ.ศ. 2542-2551). กรุงเทพฯ : ว.ีที.ซี.คอมมิวนิเคชนั่ .
________. (2553). แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2545-2559). พิมพค์ร้ังที่1กรุงเทพฯ :
กระทรวงศึกษาธิการ.

ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2559). สรุปผลการประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.ค้นเมื่อ 12 พฤษภาคม 2559.
จาก https://www.onesqa.or.th/

สุภาภรณ์กิตติรัชดานนท.์(2551). การพัฒนารูปแบบการนิเทศการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหาร
การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สุรีย์มาศ สุขกสิ. (2549). รูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชาการ
บริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

อดุลย์วงศก์อ้ ม. (2552).รูปแบบการนิเทศของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา. วิทยานิพนธ์ปรัชญา
ดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Glanz, J., Shulman, V. & Sullivan, S. (2007). Impact of instructional supervision on
student achievement: Can we make the connection? Educational Research
Association. 12(9) : 679-845.

Glatthorn, A. A. (1997). Differentiated supervision (2nd ed). Alexandria, VA: Association for
Supervisionand Curriculum Development.

Glickman, C.D. (1990). Supervision (2nd ed.). U.S.A.: Allyn and Bacon.
Glickman, C. D. S. P., Gordon and J. M Ross-Gordon. (2007). Supervision and supervision
and curriculum development : A developmental approach (7th ed.). Boston : Allyn
and Bacon.

Joint committee on standards for educational evaluation. (1981). Standards for evaluations of
educational programs projects and materials. New York : McGraw-Hill.