การบูรณาการการปรึกษากลุ่มแบบพลวตัทางจิตกบัการสร้างสัมพนัธภาพต่อพฤติกรรม ทางเพศที่เหมาะสมที่เหมาะสมของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

Main Article Content

อภิเชษฐ จันทนา
สุรินทร์ สุทธิธาทิพย์
วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์

บทคัดย่อ

การวจิยัคร้ังน้ีเป็นการวจิยัแบบผสม (Mixed Method Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผล
ของการบูรณาการการปรึกษากลุ่มแบบพลวตัทางจิตกบัการสร้างสัมพนัธภาพต่อพฤติกรรมทางเพศ
ที่เหมาะสมของนกัเรียนชายช้นั มธัยมศึกษาตอนปลายระยะที่1 กลุ่มตวัอยา่ งไดแ้ก่กลุ่มผใู้หข้อ้ มูล
จ านวน 70 คน เพื่อเก็บขอ้ มูลดว้ยวธิีการสัมภาษณ์เชิงลึก(In-depth interview) เพื่อสร้างแบบวัด
พฤติกรรมทาเพศที่เหมาะสมของนกัเรียนชายช้นั มธัยมศึกษาตอนปลายระยะที่2 กลุ่มตวัอยา่ ง เป็น
นกัเรียนชายช้นั มธัยมศึกษาตอนปลายจา นวน 28 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ
14 คน เครื่องมือที่ใชใ้นการวิจยั ไดแ้ก่แบบวัดพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม และโปรแกรมการบูร
ณาการการปรึกษากลุ่มแบบพลวตัทางจิตกบัการสร้างสัมพนัธภาพต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวดัซ้
า สองทาง (Two Factor one between and
one within subject design) พร้อมท้
งัเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ดว้ยวธิีการของนิวแมน-คูลส์
(Newman-Keuls method)
ผลการวจิยัพบวา่ ปฏิสัมพนัธ์ระหวา่ งวธิีการทดลองกบัระยะเวลาการทดลองอยา่ งมี
นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นกัเรียนชายช้
นั มธัยมศึกษาตอนปลายที่ไดร้ับการบูรณาการ
การปรึกษากลุ่มแบบพลวตัทางจิตกบัการสร้างสัมพนัธภาพต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมของ
นกัเรียนชายช้นั มธัยมศึกษาตอนปลายในระยะทดลองไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม แต่ในระยะติดตามผลสูงกวา่ กลุ่มควบคุมอยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 และนกัเรียนชายช้นั มธัยมศึกษาตอน
ปลายที่ได้รับการบูรณาการการปรึกษากลุ่มแบบพลวตัทางจิตกบัการสร้างสัมพนัธภาพต่อพฤติกรรม
ทางเพศที่เหมาะสมในระยะหลงัทดลองและระยะติดตามผลสูงกวา่ ระยะก่อนทดลองอยา่ งมีนยัสา คญั
ทางสถิติที่ระดับ .05


 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

อภิเชษฐ จันทนา

นายอภิเชษฐ จันทนา
สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
เลขที่169 ถนนลงหาดบางแสน ต าบลแสนสุข อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20131
โทรศัพท์: 083-3264356 อีเมล: [email protected]

References

คมเพชร ฉัตรศุภกุล. (2530). ทฤษฎีการให้ค าปรึกษา.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ทศัน์จารุศกัด์ิศรี. (2559).การพัฒนาสมรรถนะแห่งตนโดยใช้การปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีโปรแกรม
ประสาทสัมผัส. ปริญญานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาจิตวิทยาการปรึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธนัตภณ ตะพังพินิจการ. (2550). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ของ
นักเรียนวัยรุ่ นชายในอ าเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วัชราลักษณ์ไคบุตร. (2553). ปัจจัยที่ส่ งผลต่อการแสดงออกทางเพศที่เหมาะสมของ
นักเรียนหญิงในโรงเรียนสตรี สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1
จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (แขนงวิชาการแนะแนว)
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สัจจา ทาโต. (2550). การมีเพศสัมพนั ธ์ก่อนเวลาอนั ควรของวยัรุ่นไทย. วารสารพยาบาล
ศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 1(2): 19-28.

สุชาติ รัตถา. (2558). การพัฒนารูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ของวัยรุ่ นในจังหวัดก าแพงเพชร. ปริญญานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชายุทธศาสตร์
การบริหารและการพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลยัราชภฏักา แพงเพชร.

สุมาลีสวยสอาด. (2550). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับความพร้ อมในการมีพฤติกรรมเสี่ยงทาง
เพศของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี
นครินทรวิโรฒ.

อนงค์ วิเศษสุวรรณ์. (2554). การปรึกษากลุ่ม พิมพค์ร้ังที่3. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
Chiao C, Yi CC. (2011). Adolescent premarital sex and health outcomes among Taiwanese
youth: Perception of best friends’ sexual behavior and the contextual effect. AIDS Care.
23(9), 1083–1092.
Corey, G. (2004).Theory and practice of group counseling (6 th ed.) CA: Thomson Brooks/Cole.
366 รมยสาร ปีที่ 16 ฉบับ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม)