การปรึกษากล่มุ เชิงจิตวทิยาแบบบู รณาการเชิงทฤษฎตี่อการเสพติดอนิเทอร ์ เน็ต ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Main Article Content

พัชรี ถุงแก้ว
ระพินทร์ ฉายวิมล
ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล

บทคัดย่อ

บทความวจิยัน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาผลการใชโ้ปรแกรมการปรึกษากลุ่มเชิงจิตวทิยาแบบ
บูรณาการเชิงทฤษฎีต่อการเสพติดอินเทอร์เน็ตของนกัเรียนระดบั มธัยมศึกษาตอนปลายใชแ้บบ
แผนการทดลอง ABFและมีกลุ่มควบคุม (ABF Control Group Design) โดยเปรียบเทียบในระยะเส้น
ฐาน ระยะทดลองและระยะติดตามผลกลุ่มตวัอยา่ งคือนกัเรียนช้
นั มธัยมศึกษาตอนปลาย ซ่ึงมี
คะแนนการเสพติดอินเทอร์เน็ตอยใู่ นระดบั สูงคือ50-100 คะแนน จ านวน 24 คน สุ่มเขา้กลุ่มเป็ น
กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ไดแ้ก่แบบวดั Young’s
Internet Addiction Test (YIAT20) แบบบันทึกพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตและโปรแกรม
การปรึกษากลุ่มเชิงจิตวทิยาแบบบูรณาการเชิงทฤษฎีต่อการเสพติดอินเทอร์เน็ตของนกัเรียนระดบั
มัธยมศึกษาตอนปลายวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ The Mann–Whitney U Test , Two-way ANOVA
Repeated measuresผลการวจิยัพบวา่ 1) ปฏิสัมพนัธ์ระหวา่ งวธิีการทดลองกบัระยะเวลาการทดลอง
มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเสพอินเทอร์เน็ต อยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติที่ระดบั .05 2) ในระยะหลัง
การทดลอง กลุ่มทดลองที่ไดร้ับโปรแกรมการปรึกษากลุ่มเชิงจิตวทิยาแบบบูรณาการเชิงทฤษฎีมี
คะแนนพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตนอ้ยกวา่ กลุ่มควบคุม อยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติที่ระดบั .05
และ3) พฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ตของกลุ่มทดลองที่ไดร้ับโปรแกรมการปรึกษากลุ่มเชิง
จิตวิทยาแบบบูรณาการเชิงทฤษฎีในระยะทดลองและระยะติดตามผลลดลงกวา่ ระยะเส้นฐาน


 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

พัชรี ถุงแก้ว

นางสาวพชัรีถุงแกว้
สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
เลขที่ 169 ถนนลงหาดบางแสน ต าบลแสนสุข อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20131
โทรศัพท์: 08-6238-8902 อีเมล: patchareethoongkaew@gmail.com

References

กญั นิกา อยสู่ า ราญ. (2548). ผลของโปรแกรมการปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อป้องกัน
ภาวะน ้าหนักตัวเกินของนักเรียนชั้นประถามศึกษาปี ที่ 5 ณ โรงเรียนเขตเทศบาลเมือง
จังหวัด นครราชสีมา.วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและ
การส่งเสริมสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลยัขอนแก่น.

เกศแกว้ สอนดี. (2548).ผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์แนวคิดการควบคุมตนเองในการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกก าลังกายเพื่อการลดน ้าหนักของ
นักเรียนที่มีน ้าหนักเกินมาตรฐาน อ าเภอเมืองจังหวัดสระบุรี. ปริญญานิพนธ์วิทยา
ศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ทรงศรี สารภูษิต. (2558). การพัฒนาความมั่นคงทางอารมณ์ของวัยรุ่ นที่มาจากครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว
โดยการปรึกษากลุ่มทฤษฎีเน้นทางออกระยะสั้น. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการให้ค าปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธนิกานต์ มาฆะศิรานนท์. (2545). พฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์ เน็ตและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์
กับการ เสพติดอินเทอร์ เน็ตของผู้ใช้อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์นิเทศ
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปนัดดาธีระเช้ือ. (2550). ผลของโปรแกรมการควบคุมตนเองต่อพฤติกรรมการดื่มของผู้ติดสุราใน
โรงพยาบาลวังเหนือ จังหวัดล าปาง.วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาล
สุขภาพจิตและจิตเวช). มหาวิทยาลยัเชียงใหม.่

ประภาพร ชวนปิ ยะวงศ์. (2549).ความเสี่ยงจากการใช้อินเทอร์ เน็ต.วิทยานิพนธ์สังคมศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พัชรีดวงจันทร์. (2553). ประสิทธิผลของโปรแกรมการควบคุมตนเองและการรับรู้ ความสามารถ
ของตนเอง เพื่อการปรับเปลี่ยนตัวแปรทางจิต ตัวแปรทางพฤติกรรม และตัวแปรทาง
กายภาพ ในเด็ก นักเรียนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่2 โรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยรามค าแหง กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรี
นครินทรวิโรฒ.

มงคล ศัยยกุล. (2556). รูปแบบการปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการเพื่อพฒั นาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิของ
นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 25(9), 79-94.

รวิรกรานต์ นันทเวช. (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการติดอินเทอร์ เน็ตของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา
โสตทัศนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิกานดา พรสกุลวาณิช. (2550). แรงจูงใจและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของเยาวชนไทย.
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 27(2), 29-41.

ศุภมาส หวานสนิท. (2559).ผลของการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีเน้นทางออกระยะสั้นต่อ
ความสามารถใน การแก้ปัญหาของนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.