การพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับชุมชนท่องเที่ยว

Main Article Content

ชมพู อิสริยาวัฒน์

บทคัดย่อ

การวิจัยแบบผสมผสานคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์1) เพื่อส ารวจปัญหาและความต้องการใช้
ภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารสา หรับชุมชนท่องเที่ยวบา้นหนองตาไก้ตา บลหนองกงอา เภอนางรอง
จังหวัดบุรีรัมย์ 2) เพื่อพฒั นาคู่มือภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารสา หรับชุมชนท่องเที่ยวบา้นหนองตา
ไก้ตา บลหนองกงอา เภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ และ 3) เพื่อสา รวจความพึงพอใจต่อคู่มือ
ภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารสา หรับชุมชนท่องเที่ยวบา้นหนองตาไก้ตา บลหนองกงอา เภอนางรอง
จงัหวดับุรีรัมย์กลุ่มตวัอยา่ งที่เลือกมาแบบเจาะจงจา นวน 50 คน ประกอบด้วย 1) กลุ่มผปู้ระกอบ
อาชีพปลูกหม่อน เล้ียงหม่อน สาวไหม ยอ้มไหม และทอผา้ไหม โดยไม่แยกเพศอายุและระดบั
การศึกษา จ านวน 25 คน และ 2) ผนู้ า เยาวชนโดยไม่แยกเพศอายุและระดบัการศึกษาจา นวน 25
คน เครื่องมือวจิยั ไดแ้ก่1)แบบสอบถามปัญหาและความต้องการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
สา หรับชุมชนท่องเที่ยว 2) แบบสัมภาษณ์ก่ึงโครงสร้าง 3) คู่มือภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารสา หรับ
ชุมชนท่องเที่ยวและ4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อคู่มือภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารสา หรับ
ชุมชนท่องเที่ยว วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณโดยใชส้ถิติพรรณนาไดแ้ก่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน และวเิคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพโดยการวเิคราะห์เน้
ือหาผลการวจิยัพบวา่ 1)
กลุ่มตวัอยา่ งมีปัญหาภาษาองักฤษทุกทกัษะท้
งัฟัง พูด อ่าน และเขียน แต่ตอ้งการฝึกทกัษะการพูด
และการฟังมากกวา่ อีกสองทกัษะ2) หวัขอ้ ภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารที่กลุ่มตวัอยา่ งตอ้งการคือ


การทักทายการขอบคุณและการกล่าวลาและฐานเรียนรู้เกี่ยวกบัการผลิตไหม เป็นตน้ 3) กลุ่ม
ตวัอยา่ งตอ้งการคู่มือภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารสา หรับชุมชนท่องเที่ยวในรูปแบบหนงัสือเล่มเล็ก
มากที่สุด ดว้ยค่าเฉลี่ย4.92 และผเู้ชี่ยวชาญประเมินคู่มือภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารสา หรับชุมชน
ท่องเที่ยวดา้นรูปเล่มโดยรวม ยใู่ นระดบั มากที่สุด ดว้ยค่าเฉลี่ย4.67และดา้นเน้
ือหาโดยรวม อยใู่ น
ระดบั มาก ดว้ยค่าเฉลี่ย 4.44และ 4) ดา้นความพึงพอใจกลุ่มตวัอยา่ งมีความพึงพอใจต่อมือ
ภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารสา หรับชุมชนท่องเที่ยวดา้นรูปเล่มโดยรวม อยใู่ นระดบมากที่สุด ด้วย ั
ค่าเฉลี่ย4.83 และดา้นเน้
ือหาโดยรวม อยใู่ นระดบั มากที่สุดเช่นกนั ดว้ยค่าเฉลี่ย 4.53

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ชมพู อิสริยาวัฒน์

นายชมพู อิสริยาวัฒน์
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
439 ถ.จิระ อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ 31000
โทรศัพท์: 095-6061188 อีเมล: english18nakhon@gmail.com

References

ดรุณี โยธิมาศ (2558). ศึกษาและพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวส าหรับ
บุคลากรด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่ปราสาทเมืองต ่า อ าเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์.
(รายงานผลการวิจัย). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ผาณิต บุญยะวรรธนะ. (2542).รายงานการวิจัยเรื่องความต้องการภาษาอังกฤษในธุรกิจการ
ท่องเที่ยว. เชียงใหม่: ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษศาสตร์ มหาวิทยาลยัเชียงใหม่
.
ปัทมา สุวรรณเทศ. (2555). การสร้างคู่มือภาษาองักฤษเบ้ืองตน้ สา หรับผปู้ระกอบการโฮมสเตยบ์ า้น
นาทุ่ม-หนามแท่งอา เภอด่านซา้ยจงัหวดัเลย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. 3(2), หน้า 139-149.

พิกุล สายดวง และชญาณ์นันท์ ปิ ติกรพวงเพชร. (2560, มกราคม-มิถุนายน). การศึกษาความตอ้งการในการใชภ้ าษาองักฤษเพื่อใชใ้นการสื่อสารทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษข์องกลุ่ม
อาชีพท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์กรณีศึกษาชุมชนบา้นซะซอม อา เภอโขงเจียม จงัหวดัอุบลราชธานี. วารสารมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี,
8(1), 284-300.

สมาคมท่องเที่ยวจงัหวดับุรีรัมย. (์ 2013). “หนองตาไก้” หมู่บ้านท่องเที่ยวไหมบุรีรัมย์.ค้นเมื่อ 5
มิถุนายน 2561จาก https://burirambta.wordpress.com/2013/03/12

สมเกียรติอ่อนวมิล. (2555).การใช้ภาษาอังกฤษและภาษาอื่นในภูมิภาคกับอนาคตของไทยใน
อาเซียน ค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2561 จาก https://www.dla.go.th/upload/ebook/column

สุนนั ทา แกว้พนัธ์ช่วง. (2553). การพัฒนานวัตกรรมท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมความสามารถการใช้
ภาษาอังกฤษส าหรับบุคลากรท่องเที่ยว ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว(วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

ศศิปภา ทิพย์ประภา. (2557).การศึกษาต้นแบบการพัฒนาสมรรถนะการใช้ทักษะการพูด
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารส าหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนด้วยบทเรียนส าเร็จรูป กรณีศึกษา
อ าเภอพระนครศรีอยุธยาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สนับสนุนโดยส านักงานคณะกรรมการ
วจิยัแห่งชาติ(วช.) และส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

อัครพนท์เน้
ือไมห้อม. (2558).ศึกษาและพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการ
ท่องเที่ยวส าหรับบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ที่ปราสาทพนมรุ้ ง อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดบุรีรัมย์(รายงานผลการวิจัย). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

อคัรพนท์เน้ือไมห้อม และพุทธชาด ศรีพฒั นสกุล. (2558). การพัฒนานวัตกรรมที่ส่ งเสริ ม
ความสามารถการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้ อมสู่ ประชาคมอาเซียนส าหรับ
บุคลากรด้านการท่องเที่ยวที่วนอุทยานภูเขาไฟกระโดง จังหวัดบุรีรัมย์(รายงานผลการวิจัย). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.