บทสวดในพิธีศพของชาติพันธุ์ไทดำใน ส.ปป.ลาว: ความเชื่อประเพณี พิธีกรรม และการสื่อความหมาย

Main Article Content

สุนทร วรหาร

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่องบทสวดในพิธีศพของชาติพันธุ์ไทด าใน ส.ปป. ลาว : ความเชื่อ ประเพณี
พิธีกรรม และการสื่อความหมาย ซึ่ งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม ที่สื่อ
ความหมายผ่านบทสวดพิธีศพของชาติพนั ธุ์ไทด าใน ส.ปป. ลาว ผลการศึกษาพบว่ามีการสื่อ
ความหมายถึงการยกย่องสรรเสริญให้เกียรติผูต้ายความกตญั ญูรู้คุณ และความอาลยัอาวรณ์สื่อให้
เห็นถึงความเชื่อซ่ึงมีหลายประเด็น ไดแ้ก่การประกอบพิธีกรรมตอ้งถูกตอ้งตามประเพณี แถนเป็ น
ผูใ้ห้กา เนิดมนุษยแ์ละสัตวต์ ่างๆ ผีและคนเมื่อตายแล้วจะตอ้งไม่ทา อะไรร่วมกนั เมื่อคนตายแล้ว
จะต้องทา พิธีบอกให้รับรู้เชื่อเรื่องลางสังหรณ์เชื่อว่าการที่คนเจ็บป่วยน้ันเกิดจากขวญั ออกจาก
ร่างกายไปที่อื่นแลว้ไม่กลบั เขา้สู่ร่างกาย เชื่อว่าการฝันร้ายจะเกิดเหตุร้ายเป็ นลางบอกเหตุ สื่อเรื่อง
บทบาทของหญิงชายในการทา หน้าที่ในครอบครัว สื่อเกี่ยวกับวิธีการรักษาพยาบาลในอดีต สื่อ
เกี่ยวกบั โลกทศั น์เรื่องขวญั สื่อให้เห็นถึงวฒั นธรรมการกินหมาก สื่อให้เห็นถึงการบนั ทึกเส้นทาง
กลบั สู่ถิ่นเดิมของบรรพบุรุษ ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงการโหยหาอดีต สื่อให้เห็นถึงเมืองในอุดมคติของ
ชาติพันธุ์ สื่อให้เห็นถึงการให้ความเคารพความเกรงขามเทพผู้คุ้มครอง สื่อให้เห็นถึงโลกทัศน์
เกี่ยวกบัการดา รงอยู่หลงัความตาย และสื่อให้เห็นถึงความเคารพรักความผูกพนั ที่มีต่อกนั ในวงศ์
ตระกูล

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

สุนทร วรหาร

ผู้่ฃ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทร วรหาร
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ถนนราชธานีอ. เมือง จ. อุบลราชธานี
โทรศัพท์ : 083-7986222 อีเมล : [email protected]

References

กาญจนาแกว้เทพ. (2549).ศาสตร์ แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา (พิมพค์ร้ังที่2).กรุงเทพฯ : เอดิสัน
เพรสโปรดักส์.

ชวลิต อารยุติธรรม. (2558, ธันวาคม 25). บา้นดอนนกขมิ้น ต.ดอนตูม อ.บางเลน จ.นครปฐม
สัมภาษณ์.

บุญยงค์มีสวสั ด์ิ. (2558, มีนาคม 19). อ. เขายอ้ยจ. เพชรบุรี. สัมภาษณ์.

ม. ศรีบุษรา (นามแฝง). (2522). ไทด าร าพัน. กรุงเทพฯ : บรรณกิจ.

ไมซอน เลืองคา มา. (2557, มีนาคม 20). เมืองซ่อน แขวงหวพัน ส.ป.ป. ลาว. สัมภาษณ์. ั
ศิราพร ณ ถลาง. (2545). ชนชาติไทในนิทาน : แลลอดแว่นคติชนและวรรณกรรมพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ

: มติชน.

เสมอชัย พูลสุวรรณ. (2544). ลาวโซ่งกับคริสต์ศาสนา. รายงานการวิจัยโครงการวิจัยได้รับอุดหนุน
จากสถาบันไทยคดีศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,

สุมิตร ปิ ติพัฒน์. (2545). ศาสนาและความเชื่อไทด าในสิบสองจุไท สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
กรุงเทพฯ :โรงพิมพโ์อเอสพริ้นติ้งเฮา้ส์.

อุนแป๊ ง เลืองบุญตา. (2557, มีนาคม 22). เมืองซ่อน แขวงหวัพนั ส.ป.ป.ลาว. สัมภาษณ์.