การนำแนวคิดมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทมาลดการยึดมั่นถือมั่นทางวัตถุ

Main Article Content

เอก โกไศยกานนนท์
ประเวศ อินทองปาน

บทคัดย่อ

วตัถุประสงคข์องการวิจยัคร้ังน้ีคือ1) ศึกษาทัศนคติมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาท 2)
วิเคราะห์แนวคิดทางมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาทมาลดการยึดมนั่ ถือมนั่ ทางวัตถุ ผลการวิจัย
พบว่า ทศั นคติทางอภิปรัชญาจะให้ความส าคญั กับการรู้แจง้ตามความเป็นจริงตามกฎธรรมชาติ
ทศันคติทางญาณวิทยาจะให้ความส าคญั กบั สติปัญญาและการไดม้ าซ่ึงความรู้ที่ถูกตอ้งแทจ้ริง และ
ทศันคติทางจริยศาสตร์จะให้ความส าคญั กบัการพฒั นาชีวิตและจิตวิญญาณไปสู่ความเป็ นมนุษย์ใน
อุดมคติที่สมบูรณ์ด้วยคุณค่าและศกั ด์ิศรีในความเป็นมนุษย์ผลการวิจยัการยึดมนั่ ถือมนั่ ทางวตัถุ
พบวา่ สาเหตุส าคญั ประการหน่ึงคือการถูกครอบงา ทางความคิดซ่ึงทา ใหเ้กิดมโนทศัน์วา่ “วัตถุเป็ น
สิ่งมีคุณค่าที่สุดส าหรับมนุษย” ์ โดยมโนทศั น์ดังกล่าวน้ีทา ให้เกิดปัญหากบั ผูท้ ี่ยึดมนั่ ถือมนั่ และ
ปัญหาของโลก การปรับเปลี่ยนมโนทศัน์โดยใชส้ ติปัญญาเพื่อให้เกิดสัมมาทิฏฐิทา ให้รู้ความเป็นไป
ของสรรพสิ่งตามความเป็นจริง เป็นการยกระดบัจิตวญิ ญาณของการเป็นมนุษยท์ ี่มีคุณค่าและศกั ด์ิศรี
ในตวัเองใหส้ ูงข้ึน ใชห้ ลกักาลามสูตรและโยนิโสมนสิการพิจารณาความถูกตอ้งของขอ้ มูลข่าวสารที่
ไดร้ับไม่หลงไปกบักระแสสังคมและการถูกครอบงา ความคิด ใชห้ ลกัการดา เนินชีวิตแบบทางสาย
กลางเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการสนองความต้องการทางร่างกายกับจิต ท้งัหมดน้ีเป็น
แนวทางใหเ้กิดการลดการยดึมนั่ ถือมนั่ ทางวตัถุ


 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

เอก โกไศยกานนนท์

นายเอก โกไศยกานนท์
ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาวิชา
ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กา ลงัศึกษาระดบั ปริญญาเอก หลกัสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (ปร.ด.) สาขาวชิาปรัชญาและ
ศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ที่อยู่เลขที่5 ซ.หัวหมาก1 แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทรศัพท์: 083-5792406 อีเมล: [email protected]

ประเวศ อินทองปาน

นายเอก โกไศยกานนท์
ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาวิชา
ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กา ลงัศึกษาระดบั ปริญญาเอก หลกัสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (ปร.ด.) สาขาวชิาปรัชญาและ
ศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ที่อยู่เลขที่5 ซ.หัวหมาก1 แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทรศัพท์: 083-5792406 อีเมล: [email protected]

References

กีรติบุญเจือ. (2546). ย้อนอ่านปรัชญานวยุคของมนุษยชาติ (ช่วงสร้ างระบบเครือข่าย).
กรุงเทพมหานคร: แผนกพิมพ์และผลิตเอกสาร มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น.
เดือน ค าดี. (2534). พุทธปรัชญา. กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

ีรโชติเกิดแกว้. (2553). พุทธปรัชญา : มิติการมองโลกและชีวิตตามความจริง. กรุงเทพมหานคร:
โครงการสา นกัพิมพม์ หาวทิยาลยัหวัเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ประเวศ อินทองปาน. (2553). พุทธปรัชญาในพระไตรปิ ฎก (พิมพค์ร้ังที่3). กรุงเทพมหานคร:
สา นกัส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ (ช าระ
เพิ่มเติมช่วงที่ 1) (พิมพค์ร้ังที่12). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พุทธทาสภิกขุ. (2549). พุทธทาสยังอยู่ไปไม่มีตาย. เล่ม 1: ชีวิตและการท างาน. ม.ป.ท.
_______. (ม.ป.ป.). ปณิธาณ 3 ประการของพุทธทาสภิกขุ. ม.ป.ท.ฟ้ืน ดอกบวั. (2544). ปวงปรัชญากรีก (พิมพค์ร้ังที่2). กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์ศยาม.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เล่มที่ 14 , 20 , 21 , 22.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สิทธ์ิบุตรอินทร์. (2532). มนุษยนิยม.กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
_______. (2554). ปรัชญาเปรียบเทียบ มนุษยนิยมตะวันออกกับตะวันตก.กรุงเทพมหานคร: บริษัท
สร้างสรรคบ์ ุค๊ส์จา กดั.
_______. (2559). ปรัชญานิพนธ์.กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์ศยาม.

สุนทร ณ รังสี. (2543). พุทธปรัชญาจากพระไตรปิ ฏก (พิมพค์ร้ังที่2). กรุงเทพมหานคร:
สา นกัพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั.

สุวรรณา สถาอานันท์. (ม.ป.ป.). เงินกับศาสนา: เทพยุทธแห่งยุคสมัย. กรุงเทพมหานคร:
ส านักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง.

อมร โสภณวิเชษฐวงศ์. (2521). ปรัชญาเบื้องต้น. ม.ป.ท.