วิเคราะห์โลกทัศน์เหนือธรรมชาติที่ปรากฏในองค์ประกอบของนวนิยาย เรื่องพรายพรหม ของรอมแพง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อวเิคราะห์และเปรียบเทียบววิฒั นาการการเกิดคา เรียกสีพ้ืนฐาน
ในภาษาล้านนา 5 ช่วงสมยั ตามแนวคิดของของเบรนท์เบอร์ลิน และพอล เคย์(Berlin and Kay,
1969) ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์เป็ นข้อมูลจากจารึกและเอกสารภาษาล้านนาที่ปริวรรตเป็ นภาษาไทย
มาตรฐานแลว้ ผลการวิจยัพบว่า ภาษาลา้นนา พ.ศ. 1898-2100, พ.ศ. 2101-2316, พ.ศ. 2317-2474,
พ.ศ. 2475-2503 และ พ.ศ. 2504-2560 พบคา เรียกสีพ้ืนฐาน 3ค า, 6ค า, 9ค า, 8ค า และ 12ค า
ตามล าดับ จากการวิเคราะห์วิวฒั นาการการเกิดคา เรียกสีพ้ืนฐาน พบว่า ภาษาล้านนา 5 ช่วงสมยัมี
วิวฒั นาการการเกิดคา เรียกสีพ้ืนฐานอยู่ในระยะที่2, 5, 7, 7 และ 7 ตามล าดับ นอกจากน้ีค าเรียกสีพ้ืนฐานในภาษาลา้นนา พ.ศ. 1898-2100, พ.ศ. 2101-2316, พ.ศ. 2317-2474 และ พ.ศ. 2475-2503 มี
ลา ดบั ในการเกิดคา เรียกสีพ้ืนฐานไม่สอดคลอ้งกบัแนวคิดของเบอร์ลินและเคย์ส่วนภาษาล้านนา พ.ศ. 2504-2560 มีลา ดบั ในการเกิดคา เรียกสีพ้ืนฐานสอดคล้องกับแนวคิดของเบอร์ลินและเคย
บทความน้ีนอกจากไดพ้ ิสูจน์แนวคิดววิฒั นาการการเกิดคา เรียกสีพ้ืนฐานของเบอร์ลินและเคย์ ยังเป็นแนวทางในการศึกษาววิฒั นาการการเกิดคา เรียกสีพ้ืนฐานในภาษาอื่นๆ ได้อีกด้วย
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
ปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะ
อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สรัสวดี อ๋องสกุล. (2557). ประวัติศาสตร์ล้านนา (พิมพค์ร้ังที่10). กรุงเทพฯ:อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนดพ์ บัลิชชิ่ง.
ธนัฏฐากุล พรทิพยพานิช. (2557). ค าเรียกสีในภาษาไทยสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ประยุกต์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อุดม รุ่งเรืองศรี. (2546). วรรณกรรมล้านนา (พิมพค์ร้ังที่2). กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย.
วิพาที ทิพย์คงคา. (2553). ค าเรียกสีในภาษาไทยสมัยอยุธยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปะศาสต
รมหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กรรณิการ์ วิมลเกษม. (2548). หลักการปริวรรตอักษรโบราณที่พัฒนามาจากอักษรของอินเดีย.
ด ารงวิชาการ. 4(1), 120-135.
Berlin, B. & Kay, P. (1969). Basic color terms: Their universality and evolution. Berkeley
and Los Angeles: University of California Press.
Crawford, T. D. (1982). Defining “Basic Color Terms”. Anthropological Linguistics. 24(3),
pp. 338-343.
Snow, D. L. (1971). Samoan color terminology: A note on the universality and evolutionary
ordering of color terms. Anthropological Linguistics. 13(8), pp. 385-390.