สภาพและบทบาทภาษาไทยถิ่นเหนือในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำกก
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวจิยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์คือเพื่อศึกษาสภาพและบทบาทภาษาไทยถิ่นเหนือในเขตพ้ืนที่ลุ่มน้า กกและเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงและปัจจยัการเปลี่ยนแปลงภาษาไทยถิ่นเหนือ
ในเขตพ้ืนที่ลุ่มน้า กก ประชากรและพ้ืนที่การวิจยั ไดแ้ก่กลุ่มชนที่พูดภาษาไทยถิ่นเหนือในเขตพ้ืนที่ลุ่มน้า กกจ านวน 102 หมู่บา้น โดยใช้แบบสัมภาษณ์ในการเก็บขอ้ มูลวิจยั ผลการศึกษา พบว่าการแปรดา้น
การใช้ศัพท์ของผู้บอกภาษาสามระดับอายุ มี 3 ลกั ษณะ ไดแ้ก่ หน่วยอรรถที่ผูบ้อกภาษาสามระดบั
อายใุ ชศ้ พั ทภ์ าษาไทยถิ่นเหนือจา นวน 914 หน่วยอรรถคิดเป็นค่าร้อยละ63.03 หน่วยอรรถที่ผบู้อก
ภาษาสามระดบัอายุใช้ศพั ท์ไทยถิ่นเหนือร่วมกบั ภาษาไทยกลาง (ภาษาไทยถิ่
นกรุงเทพฯ) จำนวน 500 หน่วยอรรถคิดเป็นค่าร้อยละ 34.48 และ หน่วยอรรถที่ผูบ้อกภาษาสามระดบัอายุใช้ศพั ท์ไทย
กลาง (ภาษาไทยถิ่นกรุงเทพฯ)จา นวน 36 หน่วยอรรถคิดเป็นค่าร้อยละ 2.49 ส่วนบทบาทภาษาไทยถิ่นเหนือในเขตพ้ืนที่ลุ่มน้า กกที่สัมพนัธ์กบั พฤติกรรมการใชภ้ าษาของผูค้ นในชุมชน โดยภาพรวม
พบวา่ มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 19.44คิดเป็นค่าร้อยละ81.00แสดงใหเ้ห็นวา่ ชุมชนยงัใหค้วามสา คญัในการใชภ้ าษาไทยถิ่นเหนืออยใู่ นระดบั มากในดา้นการเปลี่ยนแปลงภาษาไทยถิ่นเหนือในเขตพ้ืนที่
ลุ่มน้า กกเป็นการเปลี่ยนแปลงท้งัหน่วยเสียงสระและหน่วยเสียงพยญั ชนะ ซ่ึงกลุ่มผบู้อกภาษาระดบั
อายุที่หน่ึงเปลี่ยนแปลงมากที่สุด รองลงมาเป็นกลุ่มผูบ้อกภาษาระดบัอายุที่สอง โดยมีตวัแปรดา้น
อายุมีผลต่อการเปล่ียนแปลงมากที่สุด
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจารึกภาษาไทย คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เพ็ญพร ตันวัฒนานันท์. (2525). การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะต้นกักสิถิลในภาษาถิ่น
เชียงใหม่กับตัวแปรทางสังคมบางประการ. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รังสรรค์ จันต๊ะ. (2535). การศึกษาค าเรียกขานภาษาถิ่นเชียงใหม่ตามแนวภาษาศาสตร์ เชิง
สังคม.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาและวรรณกรรมล้านนา คณะ
มนุษยศาสตร์มหาวทิยาลยัเชียงใหม่.
สมทรง บุรุษพัฒน์. (2556). การแปรและการเปลี่ยนแปลงภาษาไทยโซ่ง. นครปฐม :
มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุชาดา เจือพงษ์. (2553). การศึกษาเปรียบเทียบค าบุรุษสรรพนามในภาษาไทย 4 ถิ่น.
วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุนทรัตน์ แสงงาม. (2549). การแปรของค าศัพท์และวรรณยุกต์ตามกลุ่มอายุและทัศนคติต่อ
ภาษาในภาษาโซ่ง (ไทด า) ที่พูดในอ าเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สุภรา สุขวรรณ. (2537). การศึกษาการเปลี่ยนแปลงค าศัพท์และการออกเสียงค าศัพท์ในภาษา
ถิ่นอุบลฯ ของบุคคลสองระดับอายุ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ. (2556). การแปรการใช้ศัพท์ในภาษาไทด าของคนสามระดับอายุ.
นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุวฒั นา เลี่ยมประวตัิและกนั ทิมาวฒั นะประเสริฐ. (2539). รายงานการวิจัยเรื่องวิเคราะห์
การใช้ค าศัพท์และการแปรของภาษาของคนสามระดับอายุในชุมชนภาษาลาวลุ่มแม่
น ้าท่าจีน (พิมพค์ร้ังที่2). นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Gumperz, Jonh J. (1971). Language in social groups. Selecte and Introduction by Anwar
S. Dil. Stanford University press, stanford, California, USA.
Weinreich, U. (1953). Language in contact. Publication of the Linguistic Circle of New
York, Number 1.