การพฒั นากระบวนการเรียนการสอนรายวชิาแคลคูลสั 1 ตามแนวคดิการเรียนการสอนที่ แนะให้รู้คดิ การเรียนรู้ร่วมกนั และรูปแบบการแปลงของเลชส าหรับนักศึกษาคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจยัน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อพฒั นากระบวนการเรียนการสอนรายวิชาแคลคูลัส 1 ตาม
แนวคิดการเรียนการสอนที่แนะให้รู้คิด การเรียนรู้ร่วมกนั และรูปแบบการแปลงของเลช ส าหรับ
นักศึกษาครู และศึกษาผลการใช้กระบวนการเรี ยนการสอนในด้านความรู้ทางคณิตศาสตร์
พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการทา งานกลุ่มและความคิดเห็นต่อกระบวนการเรี ยนการสอนที่
พฒั นาข้ึน ซ่ึงการดา เนินการวิจยัในคร้ังน้ีเป็นการวิจยัและพฒั นาที่มี2 ข้นั ตอน ดงัน้ีข้นั ตอนที่1
พฒั นากระบวนการเรียนการสอนรายวิชาแคลคูลสั 1 ประกอบดว้ย 5ข้
นั คือ1)ข้
นั สร้างความพร้อม
และเชื่อมโยงความรู้ใหม่2) ข้นั พฒั นาการคิดทางคณิตศาสตร์3) ข้นั ขยายความรู้ร่วมกัน 4) ข้นั
น าเสนอและสรุปความรู้ร่วมกัน และ 5) ข้ันเชื่อมโยงและประยุกต์ใช้ความรู้ข้ันตอนที่ 2 น า
กระบวนการเรียนการสอนรายวิชาแคลคูลัส 1 ไปใช้เพื่อประเมินประสิทธิภาพและปรับปรุงให้มี
ความเหมาะสม กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจยัประกอบดว้ย นักศึกษาสาขาวิชาเอกคณิตศาสตร์ ที่
ลงทะเบียนเรียนรายวิชาแคลคูลัส 1 ภาคปลายปี การศึกษา 2559 จ านวน 28 คน และภาคต้น ปี
การศึกษา 2560จา นวน 22คน เครื่องมือที่ใชใ้นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลประกอบดว้ยแบบทดสอบวดั
ความรู้ทางคณิตศาสตร์รายวิชาแคลคูลัส 1 แบบประเมินพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการทา งานกลุ่ม
และแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกบักระบวนการเรียนการสอน วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย
ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลที่ไดจ้ากการนา กระบวนการเรียนการสอน
รายวิชาแคลคูลสั 1 ไปใช้พบวา่ 1)ความรู้ทางคณิตศาสตร์รายวิชาแคลคูลัส 1 ของนักศึกษาครูหลัง
เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยัสา คญั ทางสถิติที่ระดบั .01 2) พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการทา งาน
กลุ่มอยู่ในระดบั ดีและ 3) นักศึกษาครูส่วนใหญ่เห็นด้วยกับกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา
แคลคูลสั 1 ที่พฒั นาข้ึนวา่ มีความเหมาะสม
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
พุทธศักราช 2544. คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ :โรงพิมพอ์งคก์ ารรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
บนั เทิง แก่นสาร. (2554). สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาแคลคูลัสส าหรับ
วิศวกร1. หมวดวชิาคณิตศาสตร์ประยกุ ต์สา นกัวชิาศึกษาทวั่ ไป, มหาวทิยาลยัศรีปทุม.
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม 2560) (Online).
https://www.opec.go.th/ckfinder/userfiles/files/general/123(2).pdf, 4 ธันวาคม 2560.
สิริพร ทิพย์คง. (2556). การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์(พิมพค์ร้ังที่2).กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
ลาดพร้าว.
อภิภา ปรัชญพฤทธ์ิ. (2555). หลักสูตรและการเรียนการสอนอุดมศึกษา: พาราไดม์และวิธีปฏิบัติ.
กรุงเทพฯ : อินทภาษ.
อัมพร ม้าคนอง. (2554). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์: การพัฒนาเพื่อพัฒนาการ (พิมพ์
คร้ังที่2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bruffee, A. K. (1995). “Sharing our toys-cooperative learning versus collaborative learning.”
Change (January-February, 1995): 12-18.
Fennema, E., Carpenter, T. & Peterson, P. (1989). “Teachers’ decision making and cognitively
guided instruction: A new paradigm for curriculum development.” In N. F. Ellerton, and
M. A. Clements. (eds.). School mathematics: The challenge to change. Geelong: Deakin
University Press, 174-187.
Ferrini-Mundy, J. & Graham, K. G. (1991). “An overview of the calculus curriculum reform
effort: Issues for learning, teaching, and curriculum development.” American
Mathematical Monthly 98 (7): 627-635.
Hiebert, J. & Lefevre, P. (1986). Conceptual and procedural knowledge in mathematics: An
introductory analysis. New Jersey : Erlbaum.
Lesh, R. (1979). “Mathematical learning disabilities: considerations for identification, diagnosis,
and remediation.” In R. Lesh, D. Mierkiewicz, and M. G. Kantowski. (eds.). Applied
Mathematical Problem Solving Columbus. Ohio: ERICISMEAC, 111-118.