นวัตกรรมแก้ปัญหาการออกเสียงภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์ส าหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษากล่มุ ชาติพนัธ ์ุอ่าข่าในจังหวดัเชียงราย

Main Article Content

โชคฑีรภัคญ ธนเศรษฐวัฒ
จารุวรรณ เบญจาทิกุล
สมเกียรติ รักษ์มณี
พรสวรรค์ สุวรรณ

บทคัดย่อ

บทความน้ีมีวตัถุประสงค์มีวตัถุประสงคเ์พื่อ1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพนวตักรรม
บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมีเดียเพื่อแก้ปัญหาการออกเสียงภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์ส าหรับ
นกัเรียนช้นั ประถมศึกษากลุ่มชาติพนัธุ์อ่าข่าในจงัหวดัเชียงรายและ2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ
นกัเรียนที่มีต่อการใชน้ วตักรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมีเดียเพื่อแกป้ ัญหาการออกเสียงภาษาไทย
ตามแนวภาษาศาสตร์ส าหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษากลุ่มชาติพนัธุ์อ่าข่าในจงัหวดัเชียงรายกลุ่ม
ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีได้แก่ นักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์อ่าข่า ที่ก าลังเรียนในระดับช้ัน
ประถมศึกษาปี ที่ 1-3 ปี การศึกษา 2559 โรงเรียนบ้านเทอดไทย ต าบลเทอดไทย อ าเภอแม่ฟ้าหลวง
จังหวัดเชียงราย จ านวน 48 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการสร้างและ
ประเมินประสิทธิภาพนวัตกรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย และ 2) เครื่องมือที่ใช้ศึกษาความพึง
พอใจของนกัเรียนที่มีต่อนวตักรรม สถิติที่ใชใ้นการวิเคราะห์ขอ้ มูลไดแ้ก่1)ค่าความถี่และค่าร้อย
ละในการวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 2)ค่าเฉลี่ย ในการหาประสิทธิภาพและประเมินคุณภาพ
E1/E2ของนวตักรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมีเดีย 3)การหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ในการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจ และ 4) การทดสอบค่าทีผลการวิจยั 1) การประเมิน
ประสิทธิภาพนวตักรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย พบว่า คะแนนผลสัมฤทธ์ิจากการทา
แบบทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลงัเรียน พบว่า นกั เรียนมีคะแนนผลสัมฤทธ์ิหลงัเรียน
มากกว่าคะแนนผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียน รวมกันท้ังหมด 263 คะแนน ประสิ ทธิภาพบทเรี ยน
คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ท้ัง E1 และ E2 พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียที่พัฒนาข้ึนมี
ประสิทธิภาพ 82.92/80.83 สูงกว่าเกณฑ์ที่กา หนดไวค้ือ 80/80 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย
ระหวา่ งการทา แบบทดสอบก่อนเรียนกบัแบบทดสอบหลงัเรียนของกลุ่มตวัอยา่ ง พบวา่ นักเรียนช้นั
ประถมศึกษากลุ่มชาติพนัธุ์อ่าข่าในจงัหวดัเชียงราย มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลงัเรียนสูงกวา่ ก่อน
เรียนอยา่ งมีนยัส าคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.01 ส่วนคะแนนเฉลี่ยจากการทา แบบทดสอบหลงัเรียนมีค่า
เท่ากบั 16.17 ซึ่ งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยจากการทา แบบทดสอบก่อนเรียน คือ 5.48 และ 2) ความพึง
พอใจของนกั เรียนที่มีต่อการใช้นวตักรรม พบว่า สถานภาพทวั่ ไปของผูต้อบแบบสอบถาม ผูต้อบ
แบบสอบถามเป็นเพศชายมากกวา่ เพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 25 ความพึงพอใจของนกัเรียนท้งัหมดที่มี
ต่อนวตักรรมบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเพื่อแก้ปัญหาการออกเสียงภาษาไทยตามแนว
ภาษาศาสตร์มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน อยใู่ นระดบั มากที่สุด (4.52)


 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

โชคฑีรภัคญ ธนเศรษฐวัฒ

นายโชคฑีรภัคญ์ ธนเศรษฐวัฒนา
สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
80 หมู่9 ถนนพลหลโยธิน ต. บา้นดู่อ.เมืองจ.เชียงราย 57100
แฟ็ กซ์: 053-776014 ต่อ19 โทรศัพท์: 053-776014 อีเมล: kruyokruyo@gmail.com

References

กนกรัตน์ บุญไชโย. (2549).การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดียเรื่องทศนิยมกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2. สารนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุ
สภาลาดพร้าว.

กลัยา มงคลชนะชัย. (2548). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื่อง ค าศัพท์ภาษาไทยส าหรับ
นักเรียนต่างชาติชั้น Year 1 นานาชาติ.วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

โครงการพิพิธภณั ฑช์ นเผา่ ออนไลน์. (2557). Slice Of Life.ค้นเมื่อ 24 มกราคม 2558, จาก
www.hilltribe.org.

จิรประภาศรีสุธรรม. (2549). ผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่องการอ่านออกเสียงค าที่มี
ตัวรลวและคาควบกล ้า ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่1 โรงเรียนเหล่ากกหุ่งสว่าง
อ าเภอมัญจาคีรีจังหวัดขอนแก่น.วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สถาบัน
มหาวทิยาลยัขอนแก่น.

ชลธิชา บา รุงรักษแ์ละนนั ทนารณเกียรติ. (2558). “ภาษาคืออะไร” ใน ภาษาและภาษาศาสตร์ .
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ฐิติยาจองหมุ่ง . (2555).การพัฒนาความสามารถในการสื่อสารภาษาไทยของนักเรียนที่ใช้ภาษาไทย
เป็นภาษาที่สอง ตามแนวการสอนภาษาแบบธรรมชาติ. เชียงใหม่ : มหาวทิยาลยัเชียงใหม่ .

ประสงค์ รายณสุข. (2532) การศึกษาผลการทดลองใช้แบบฝึ กเสริมทักษะการพูดภาษาไทยแก่เด็ก
ชาวเขา.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโฒประสานมิตร.

วันเพ็ญ เดียวสมคิด. (2551). การสอนภาษาไทยเป็ นภาษาที่สองตามแนวการสอนแบบโฟนิกส์เพื่อ
พัฒนาความพร้ อมทางภาษาไทยของนักเรียนโรงเรียนอนุบาลบ้านปลาดาว อ าเภอแม่แตง
จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สถาบนั มหาวทิยาลยัเชียงใหม่.

ศรีวิไล พลมณี. (2545). ภาษาและการสอน. เชียงใหม่: มหาวทิยาลยัเชียงใหม่
สถาบนัวจิยัและพฒันาพ้ืนที่สูงองคก์ ารมหาชนออนไลน์. (2557). สถาบันและพัฒนาพื้นที่สูง.ค้น
เมื่อ 24 ธันวาคม 2558. จากhttps://www.hrdi.or.th/HighlandDevelop.

สุคนธ์ สินธพานนท์. (2553). นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน. กรุงเทพฯ:
ห้างหุน้ ส่วนจา กดั 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

สุริยา รัตนกุล .(2531). นานาภาษาในเอเชียอาคเนย์ภาคที่1. กรุงเทพฯ:ศูนย์วิจัยวัฒนธรรมเอเชีย
อาคเนย์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

Bamrung, P. (1993). A Phonological study of Akha in Pa-Kha-Suk-Jai Village, Tambol Mae-SaLong-Nok, King Amphur Mae-Fa-Luang, Chiang Rai Province. M.A. Thesis in
Linguistics,Faculty of Graduate Studies, Mahidol University.
Boonyasaranai, P. (2010). The Development and use of common Akha orthography development.
Ph.D. Dissertation in Linguistics, Mahidol University.
Lewis & Bibo. (1996). Hani-English-Hani Dictionary. Leiden: International Institute for Asian
Student.Paul, L. (1973).Tone in the Akha language. Antropological Linguistics. (vol.15,pp. 183-188)
_______. 1989. Akha-English-Thai Dictionary. Chiang Mai: Development & Agricultural Project
for Akha (DAPA).Smalley, William A. 1976. The problems of consonants and tone: Hmong (Meo, Miao). In
Smalley, W. A. (ed.), Phonemes and Orthography: Language Planning in Ten Minority
Languages of Thailand, 85-123. Canberra: Australian National University.
Wyss, P. (1969). “Some comments on Akha: Its relationships and structure and a proposal for a
writing system, part 2: Thai orthography for Akha”. In PTNT.