เทคนิคการนิเทศครูเพ ื่อการประยุกต ์ใช้การจัดการความรู้ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7

Main Article Content

อุได พลแก้ว

บทคัดย่อ

ิยัน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อ1) พฒั นาเทคนิคการนิเทศครูใหม้ีการประยุกต์ใช้การจัดการความรู้
ในโรงเรียนขนาดเล็ก ส านกังานเขตพ้
ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 2) ตรวจสอบ
ประสิทธิภาพของเทคนิคการนิเทศครูเพื่อการประยุกต์ใช้การจัดการความรู้โรงเรี ยนขนาดเล็ก
สา นกังานเขตพ้
ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 โดยนิเทศการพฒนาระดับปฏิบัติการ ั
ประยุกต์ใช้การจดัการความรู้เพื่อพฒั นาคุณภาพการศึกษาด้านหลกั สูตร ดา้นการจดักิจกรรมการ
เรียนการสอน และดา้นการจดัการประเมินผลของครูกลุ่มทดลองในการวิจยัประกอบดว้ยครูปฏิบตัิ
หน้าที่การสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก 3 โรงเรียน จ านวน 15 คน ที่มีระดับการปฏิบัติการประยุกต์ใช้
การจดัการความรู้ของแต่ละโรงเรียนแตกต่างกนั 3ระดบัโดยโรงเรียนที่มีระดบัการปฏิบตัิการจดัการ
ความรู้ระดับมากใช้เทคนิคการนิเทศแบบพี่เล้ียง (Mentoring) โรงเรียนที่มีระดับการปฏิบัติการ
จัดการความรู้ระดับปานกลางใช้เทคนิคการนิเทศแบบผสมผสาน (Coaching and Mentoring Mixed
Method) และโรงเรียนที่มีระดับการปฏิบัติการจัดการความรู้ระดับน้อยใช้เทคนิคการนิเทศแบบ
ช้ีแนะ (Coaching) ตามล าดับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็ นแบบประเมินเพื่อใช้ในการจ าแนกระดับ
ปฏิบตัิการจดัการความรู้ของครูโรงเรียนขนาดเล็ก และคู่มือการนิเทศครูด้วยเทคนิคนิเทศ 3 แบบ


ไดแ้ก่ เทคนิคการนิเทศแบบพี่เล้ียง เทคนิคการนิเทศแบบช้ีแนะและเทคนิคการนิเทศแบบผสมผสาน
จากการวิจัย พบวา่ 1)ครูมีความรู้โดยครูผูส้อนมีการประยุกต์ใช้การจดัการความรู้เพิ่
มข้ึน ค่าเฉลี่ย
การประยุกต์ใช้การจัดการความรู้ของครูมากทุกระดับ และมีการพัฒนาโดยครูโรงเรียนขนาดเล็กที่
ไดร้ับการนิเทศท้
งั 3แบบ มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอน และมีผลการพฒั นาการประยกุ ตใ์ช้
การจดัการความรู้เพิ่
มข้ึนทุกดา้นทุกองค์ประกอบ 2)ครูมีความรู้และมีระดบั ปฏิบตัิประยุกต์ใช้การ
จดัการความรู้เพิ่
มข้ึน เมื่อพิจารณาผลการนิเทศท้
งั 3 เทคนิคครูผูส้อนโรงเรียนขนาดเล็กก่อนไดร้ับ
การนิเทศอยู่ในระดบั ปานกลางที่ค่าเฉลี่ย 3.15 หลงัจากได้รับการนิเทศแลว้ มีการประยุกต์ใช้การ
จดัการความรู้ระดบั มากที่ค่าเฉลี่ย 4.13 แสดงวา่ เทคนิคการนิเทศครูท้งั 3 แบบมีประสิทธิภาพ ซ่ึง
บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ว่า เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของเทคนิคการนิเทศตามขอ้คน้ พบของ
ผลการวิจัย ผลการหาประสิ ทธิภาพของเครื่ องมือวิจัย เห็นได้จากครู ผู้สอนมีการพัฒนาการ
ประยุกตใ์ชก้ารจดัการความรู้และมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนส่งผลใหก้ารประยกุ ตใ์ชก้าร
จัดการความรู้มีการพัฒนา เทคนิคการนิเทศได้รับการปรับใช้ในระดับที่เหมาะสม และครูมีความรู้
เพิ่มข้ึนทุกดา้นหลงัจากไดร้ับการนิเทศทั้ง  3แบบ


 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

อุได พลแก้ว

ดร.อุได พลแก้ว
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิยาลยัวงษช์วลิตกุลเลขที่64 หมู่13 ต. โนนตูม อ. ชุมพวง จ.นครราชสีมา 30270
โทรศัพท์ 084-474-6591 อีเมล [email protected]

References

เกษมสิงห์ เฟื่ องฟู. (2551). การสนทนากลุ่ม (Focus group). สืบค้นเมื่อ วันที่ 20 มีนาคม 2560 จาก
https://www.gotoknow.org/posts/276719

บุษบา ปิ ยารมณ์. (2548). การด าเนินงานนิเทศด้านวิชาการของศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน
อำเภอ สังกัดส านักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักการ ภาควิชานโยบายการ
จัดการและความเป็ นผู้น าทางการศึกษาคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปณิตา พ้นภัย. (2544). การบริหารความรู้: แนวคิดและกรณีศึกษา. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร
มหาบัณฑิต(นโยบายสาธารณะ). กรุงเทพ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประทุม ศรีวะโร. (2548). การศึกษาทักษะการนิเทศของผู้นิเทศตามการรับรู้ ของครูผู้สอนใน
โรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหา
บัณฑิต สาขานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร ภาควิชานโยบายการจัดการและความเป็น
ผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประเวศ วะสี. (2550). ระบบการเรียนรู้ ใหม่ไม่ให้พ้นวิกฤตแห่งยุคสมัย. สา นกังานร่วมดว้ยช่วยกนั
287/195 ซ.รามคำแหง21(นอศรี) แขวงทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310.

พจน์ เจริญสันเทียะ. (2551). การพัฒนาดัชนีคุณภาพชีวิตการท างานของข้าราชการครูในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา).
นครราชสีมา: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.

วันทิพย์ สินสูงสุด. (2549). การใช้การเรียนรู้ จากการปฏิบัติเพื่อสร้ างองค์กรการใฝ่ เรียนรู้ .
สำนักพิมพ์ช้วงศึกษาวิจัย 36/14 ถ.งามวงศ์วาน บาดยาว จตุจักร กรุงเทพฯ 10900.

วิลาวัลย์ มาคุ้ม. (2549). การพัฒนาตัวบ่งชี้การจัดการความรู้ ของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา).
กรุงเทพ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สงบ อินทรมณี. (2552). รูปแบบการพัฒนาครูโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กตามมาตรฐานการ
ปฏิบัติงาน ของคุรุสภา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
นครราชสีมา: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.

สมเพียง กุลละวณิชย์. (2545). การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายในของผู้นิเทศในโรงเรียน
มัธยมศึกษาสหวิทยาเขตแก้วปราการ จังหวัดสมุทรปราการ. สารนิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7. (2558). ระบบสารสนเทศเพื่อบริหาร
การศึกษา. ขอ้มูลพ้ืนฐานโรงเรียนสังกดัสา นกังานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
นครราชสีมา เขต 7กลุ่มนโยบายและแผนการจดัการศึกษา สา นกังานเขตพ้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7.

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7. (2558). ข้อมูลสารสนเทศการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาโรงเรียนสังกัด กลุ่มนโยบายและแผนการจัดการศึกษา. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน. (2546). รูปแบบการจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก.
กรุงเทพ: กลุ่มนโยบายและแผน สา นกังานนโยบายและแผนการศึกษาขั้นฟื้นฐาน สำนักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน.สา นกังานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน. (2547). ชุดฝึ กอบรมทางไกลบุคลากรการศึกษาขั้น
พื้นฐานเส้นทางปฏิรูปการเรียนรู้ “ครูปฏิรูป” ตอนที่ 2 การเรียนรู้ บูรณาการ: ยุทธศาสตร์ ครูปฏิรูป.กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์แสน สมนึก. (2541). การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางไกลเพื่อเสริมสร้ างสมรรถภาพการนิเทศ
ภายในของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา. ปริญญานิพนธ์ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการ
วิจัยและพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุมณฑา ป้ัวเฮงทรัพย.์ (2546). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความพึงพอใจของครูต่อการนิเทศภายในเกี่ยวกับ
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง โรงเรียนเอกชนคาทอลิกสังฆมณทล สุ
ราษฎร์ ธานี. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุทธนู ศรีไสย์. (2549). หลักการนิเทศการศึกษา.คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรนุช ศรีสะอาด. (02548). วิธีการทางสถิติส าหรับการวิจัย. ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. อัดส าเนา.

Housel, T. Bell & Asthur, H. (2001). Measuring and manage knowledge. Boston: McGaw-Hill.
Margaret, J. Wheatley. (2001). The real work of knowledge management. Retrieved March 19, 2017
from www.margaretwheatley.com>articles.