รูปแบบพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารองค์กรปกครอง

Main Article Content

ปิลัน วีระภัทรกุล
ยุภาพร ยุภาศ
ภักดี โพธิ์สิงห์

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจยัน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับปัจจัยภาวะผู้น าเชิงสร้างสรรค์ของ
ผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจงัหวดั บุรีรัมย์2) เพื่อศึกษาปัจจยัที่ส่งผลต่อภาวะผูน้ าเชิง
สร้างสรรคข์องผูบ้ริหารองคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่
นจงัหวดับุรีรัมย์3) เพื่อสร้างรูปแบบพัฒนาภาวะ
ผู้นา เชิงสร้างสรรคข์องผูบ้ริหารองคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่
นจงัหวดับุรีรัมย์กลุ่มตวัอย่างคือจำนวน
354 คนจากประชากรจำนวน 2,835 คนของเทศบาลตำบลท้ังหมด 59 แห่งเป็นนายกเทศมนตรี
ปลดัเทศบาลตา บล หัวหน้าหน่วยงานเทศบาลตา บลและพนกังานของเทศบาลตา บลการวิจยัคร้ังน้ี
พบว่ารูปแบบพฒั นาภาวะผูน้ าเชิงสร้างสรรค์ของผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจงัหวดั
บุรีรัมย์ ประกอบด้วย 1) ปัจจยัด้านการส่งเสริมการทา งานเป็นทีม 2) ปัจจัยด้านประสิทธิภาพการ
สื่อสารภายในองค์กร 3) ปัจจัยด้านทัศนคติเชิงบวกในการท างาน 4) ปัจจัยด้านการเสริมสร้าง
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิและ5) ปัจจยัดา้นการสร้างความไวว้างใจในองคก์รอนัจะนา ไปสู่เป้าหมายการ
พฒั นาภาวะผนู้ า เชิงสร้างสรรคข์องผบู้ริหารองคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่
นจงัหวดับุรีรัมย

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ปิลัน วีระภัทรกุล

ดร. ปิ ลันธน์ วีระภัทรกุล
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 80 ถนนนครสวรรค์ ต.ตลาด อ.เมือง
จ.มหาสารคาม 44000
โทรศัพท์: 089-0000169 อีเมล: [email protected]

References

กรองทิพย์ นาควิเชตร. (2552). ภาวะผู้น าสร้ างสรรค์เพื่อการศึกษา. สมุทรปราการ: ธีรสาส์น
พับลิชเซอร์.

ชาญชัยอาจินสมาจาร. (2550). ภาวะผู้น าในองค์การ. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.

ณัฐวุฒิเตมียสุวรรณ. (2550). การสร้ างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.

ทองใบ สุดชารี. (2542). วิเคราะห์แนวความคิด ทฤษฎี และการประยุกต์(พิมพค์ร้ังที่2).
อุบลราชธานี: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ธงชัย สันติวงษ์. (2546). พฤติกรรมองค์การ (พิมพค์ร้ังที่10). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

ธนวรรธ ต้งัสินทรัพยศ์ิริ. (2550). พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behavior).กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.

รังสรรค์ ประเสริฐศรี.( 2551). ภาวะผู้น า (Leadership) (พิมพค์ร้ังที่2). กรุงเทพฯ: ธนธชัการพิมพ์.

วมิลจนั ทรแกว้ (2555). “รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้น าเชิงสร้ างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ ธานี เขต 3.”(วิทยานิพนธ์การศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต): มหาวิทยาลัยรังสิต.

สัมฤทธ์ิกางเพง็. (2551). ภาวะผู้น าใฝ่ บริการในองค์การ:แนวคิด หลักการ ทฤษฎีและงานวิจัย (พิมพ์คร้ังที่2).ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา.

สิริลักษณ์จิเจริญ.(2545). ตัวแปรคัดสรรที่ส่งผลต่อลักษณะการเรียนรู้ เป็ นทีมของนักเทคโนโลยีการศึกษา.(วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต), ภาควิชาโสตทัศนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย:
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
Burns, J. M. (1978).Leadership. New York: Harper and Row.

Katzell, R. A. & Thompson, D.E. (1991). Work motivation: Theory and practice. American
Psychologist. 2, pp. 144 -153.

Lewicki et al. (1998). Trust and distrust: New relationships and realities. The Academy of
Management Review, 23(3), pp. 438 – 459.

Luhman, N. (1979).Trust and power: Two works by Niklas Luhman. New York: John Wiley &
Sons. pp 454.

McClelland and David C. (1973).Quoted in Competency Profiles and Databases
https://www.haygroup.com/>2010