การใช้โปรแกรมภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวเสริมสร้างพลังอำนาจให้กับกลุ่มเป้าหมายในชุมชนท้องถิ่นสี่แห่งของประเทศไทย: การวิเคราะห์กรณีศึกษา ตามแนวคิดของอลัน โรเจอร์ส
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การใช้โปรแกรมภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวสำหรับการเสริมสร้างพลังอำนาจให้กับชุมชนในประเทศไทย จำนวน 4 แห่ง โดยพิจารณาตามกรอบแนวคิดเรื่องเส้นทางการเปลี่ยนแปลงของอลัน โรเจอร์ส ผลจากการวิเคราะห์กรณีศึกษางานวิจัยในประเทศไทยที่ใช้โปรแกรมภาษาอังกฤษเพื่อ
การท่องเที่ยวที่มีอยู่ทั้งหมดในฐานข้อมูล “ไทยลิส” พบว่า กรณีศึกษาโปรแกรมภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวทั้ง 4 กรณี สอดคล้องกับเส้นทางการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่
เป้าหมายแห่งการพัฒนาในรูปแบบ “เส้นทางของการเปลี่ยนแปลงชนิดที่ให้กลุ่มเป้าหมายได้ตัดสินใจก่อนที่จะให้การฝึกอบรม” เป็นการมุ่งเสริมสร้างพลังอำนาจให้กับกลุ่มเป้าหมายและชุมชนท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น โดยที่ขั้นตอนของเส้นทางการเปลี่ยนแปลงของอลัน โรเจอร์ส ประกอบไปด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) สภาวการณ์ที่เป็นอยู่ 2) การกระตุ้นความตระหนักรู้ถึงความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนแปลง 3) การตัดสินใจของกลุ่มเป้าหมาย 4) การฝึกอบรม 5) การลงมือปฏิบัติ และ 6) การเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค์ ผู้เขียนพบว่า กรณีศึกษาที่ 1 และ 2 นำแนวคิดเส้นทางการเปลี่ยนแปลงของอลัน โรเจอร์ส ไปใช้จนถึงขั้นที่ 3 คือ การตัดสินใจร่วมของกลุ่มเป้าหมาย ในขณะที่ กรณีศึกษาที่ 3 และ 4 มีการนำเส้นทางการเปลี่ยนแปลงของอลัน โรเจอร์ส ไปใช้จนถึงขั้นที่ 6 ซึ่งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค์ผู้เขียนได้นำเสนอแนวทางที่เป็นไปได้สำหรับผู้นำชุมชน ผู้กำหนดนโยบาย และผู้พัฒนาโปรแกรมการเรียนรู้ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับขั้นตอนการพัฒนาสังคมจากกรณีศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนอันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค์ นอกจากนี้ ผู้เขียนได้เสนอให้มีการนำกรอบแนวคิดเรื่องเส้นทางการเปลี่ยนแปลงของอลัน โรเจอร์ส ไปใช้พัฒนารูปแบบโปรแกรมสำหรับฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อสร้างโอกาสและกระตุ้นการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาตนเองและชุมชน
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับทุกเรื่องที่พิมพ์เผยแพร่ได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Peview) เฉพาะสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ การตีพิมพ์บทความซ้ำต้องได้รับการอนุญาตจากกองบรรณาธิการเป็นลายลักษณ์อักษร
References
Atibaedya, A. (2010). Research Report of a Self-directed Learning Model for
Communicative English Using for Eco-Tourism and Cultural Heritage
Tourism in Tha-ka, Amphawa District, Samut-Songkhram Province.
Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University.
Bhasin, H. (2020, June 30). What is Training Program? Definition, Meaning and
Types. https://www.marketing91.com/trainingprogram
Daggol, G. D. (2020). Perceived Academic Motivation and Learner Empowerment
Levels of EFL Students in Turkish Context. Participatory educational
Research (PER), 7(3), 21-37.
Ilyosovna, N. (2020). The Importance of the English Language. International
Journal on Orange Technologies, 2(1), 22-24.
Kuosuwan, B. (2016). The Readiness of English Communication Skills of Tourism
Employees in Bangkok for Entering the Asean Community. International
Journal of Environmental and Science Education, 11(18), 12904-
Langenbach, M. (1993). Curriculum Model in Adult Education. Florida: Krieger
Publishing Company.
Lertchalermtipakoon, P., Wongsubun, U. & Kawinkoonlasate, P. (2021). Need
Analysis: English Language Use by Students in the Tourism and
Hospitality and Industry. Canadian Center of Science and Education,
(3), 59-71. http://doi.org/10.5539/elt.v14n3p59
Lucchetti, V. G. & Font, X. (2013). Community Based Tourism: Critical Success
Factors. http://www.icrtourism.org
Nitikasetsoontorn, S. (2015). The Success Factors of Community-Based tourism
in Thailand. Nida development Journal, 55(2), 24-58.
Nishanthi, R. (2018). The Importance of Learning English in Today’s World.
International Journal of Trend in Scientific Research and Development,
(1), 871-874.
Nomnian, S., Trupp, A., Niyomthong, W., Tangcharoensathaporn, P., & Charornkongka,
A. (2020). Language and Community-Based Tourism: Use, Needs,
Dependency, and Limitations. Austrian Journal of South-East Asian
Studies, 13(1), 57-79.
Phandee, S. (2016). Research Report of Communicative English Skills Development
for Local People in Samutprakan Province. Bangkok: Dhonburi
Rajabhat University.
Rogers, A. (1994). Adults Learning for Development. London: Cassell Education
Limited.
Rao, P. (2019). The Role of English as a Global Language. Research Journal of
English, 4(1), 65-79.
Sugunto, G. (2017). Research Report of the Development of English Learning
Package for Tourism through Tourism Activities to Mahouts,
Children, and Young Students in Meayaow Sub-district, Chiang Rai
Province. Chiang Rai Province: Mahachulalongkornrajavidyalaya
University.
Supasiriwittaya, S. (2014). The Development of an English Agro-tourism
Handbook for Hosts at Klong Mahasawat Community, Phuttamonthon
District, Nakhon Pathom. Dissertation, M.A. (English). Nakhon
Pathom Rajabhat University.
Sutresna, I.B., Suyana U.I. M., Saskara, I. A. N. & Setiari, N. P. W. (2019). Community
Based Tourism as Sustainable Tourism Support. Russian Journal of
Agricultural and Socio-Economic Sciences, 10(94), 70-78.
Suwanpakdee, A. (2018, July 19-20). English as Success Factor for Community
Based Tourism in Thailand (Paper presentation). The 3rd International
Conference on Language, Literature and Cultural Studies (pp. 458-
. Thailand: https://www.researchgate.net/publication/350754279
Surawattananon, N. (2019). Tourism and Its Role in Driving the Thai Economy.
https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/
Article_29Oct2019.pdf
Surawattananon, N., Reancharoen, T., Prajongkarn, W., Chunanantatham, S.,
Simakorn, Y., & Gultawatvichai, P. (2021). Revitalizing Thailand’s
Tourism Sector. https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/Economic
Conditions/AAA/250624_WhitepaperVISA
Zahedpisheh, N., Bakar, A., Zulqarnain, B., Saffari, N. (2017). English for Tourism
and Hospitality Purposes (ETP). English Language Teaching, 10(90),
-94.