การพัฒนาแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิด คอนสตรัคติวิสต์หัวข้อทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหาร การศึกษาสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา

Main Article Content

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์
พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ

บทคัดย่อ

 บทความวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้าง ทดสอบ ทดลองใช้ และประเมินต้นแบบแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เกี่ยวกับทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหารการศึกษาสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มีรูปแบบ
การวิจัยเป็นการวิจัยและพัฒนา R&D กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ปีการศึกษา 2563 กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 28 คน โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม วิธีดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ 2) การออกแบบและพัฒนาแพลตฟอร์ม 3) การทดสอบการใช้งานและประเมินผล และ 4) การปรับปรุงสมรรถนะของแพลตฟอร์ม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์แก่นสาระ
ผลการวิจัยพบว่า 1) ต้นแบบแพลตฟอร์มพัฒนาโดยใช้กระบวนการดีบีแอลซี
(DBLC) ผู้เชี่ยวชาญเห็นว่าแพลตฟอร์มมีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอนได้จริงและนักศึกษามีความพึงพอใจในการเรียนรู้ด้วยแพลตฟอร์มโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 2) แพลตฟอร์มนี้มีโครงสร้างที่ประกอบด้วย เว็บไซต์ ฐานข้อมูลอาจารย์และนักศึกษา บันทึกความรู้ แบบประเมินความรู้ กระดานสนทนา คลังความรู้ ดาวน์โหลดเอกสาร และภาพกิจกรรมต่าง ๆ ต้นแบบแพลตฟอร์มที่ได้จะช่วยให้ผู้ศึกษามีทักษะเชิงปฏิบัติการในการเรียนรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหารการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการพัฒนาทักษะด้านการใช้งานแพลตฟอร์มดิจิทัลออนไลน์ให้ดียิ่งขึ้

Article Details

How to Cite
วรพงศ์พัชร์ ณ. ., & ผกามาศ พ. . (2022). การพัฒนาแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิด คอนสตรัคติวิสต์หัวข้อทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหาร การศึกษาสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 14(2), 80–106. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhsc/article/view/254650
บท
บทความวิจัย
Author Biography

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, สมาคมส่งเสริมการศึกษาทางเลือ

-

References

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2562). พระราชบัญญัติการ

อุดมศึกษา พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

ดรุณี ปัญจรัตนากร, เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ, พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ, และ จร ประสงค์สุข. (2563).

การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบบริหารจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและนวัตกรรม

การบริหารการศึกษา. ใน การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร

สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ, (น.1-8). นครราชสีมา: สมาคมสถาบันอุดมศึกษา

เอกชนแห่งประเทศไทย.

พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ, และ ปรางทิพย์ เสยกระโทก. (2556). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์

แบบมีปฏิสัมพันธ์รายวิชาระบบไอซีทีและการจัดการยุคใหม่. วารสาร

สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 31(1), 25-43.

สุริยะ วชิรวงศ์ไพศาล, ดรุณี ปัญจรัตนากร, และ พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2563). การพัฒนา

ระบบบริหารจัดการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการศึกษาทางเลือกสำหรับการศึกษา

ขั้นพื้นฐานระดับมัธยมศึกษา. ใน การประชุมสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และ

บุคลากรทางการศึกษา (สคบศ. วิชาการ) ครั้งที่ 1. 3 สิงหาคม 2563, (น.55-56).

นครปฐม: สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา.

Adnan, M. & Anwar, K. (2020). Online Learning Amid the COVID-19

Pandemic: Students' Perspectives. Online Submission, 2(1), 45-51.

Ancelin-Bourguignon, A. (2019). The Priming Role of Qualitative Research in

Constructivist Management Control Teaching. Qualitative Research

in Accounting & Management, 16(4), 463-490.

Azorín, C. (2020). Beyond COVID-19 Supernova. Is another education

coming?. Journal of Professional Capital and Community, 5(3/4),

-390.

Bell, R. & Liu, P. (2019). Educator Challenges in the Development and

Delivery of Constructivist Active and Experiential Entrepreneurship

Classrooms in Chinese Vocational Higher Education. Journal of

Small Business and Enterprise Development, 26(2), 209-227.

Biswas, P. (2020). Develop Learning Management System Without Breaking a

Sweat. https://www.unifiedinfotech.net/blog/LMS/

Chandra, Y. (2021). Online Education during COVID-19: Perception of

Academic Stress and Emotional Intelligence Coping Strategies

among College Students. Asian Education and Development

Studies, 10(2), 229-238.

Chapman, C. & Bell, I. (2020). Building Back Better Education Systems:

Equity and COVID-19. Journal of Professional Capital and Community,

(3/4), 227-236.

Dziubaniuk, O. & Nyholm, M. (2021). Constructivist Approach in Teaching

Sustainability and Business Ethics: a Case Study. International

Journal of Sustainability in Higher Education, 22(1), 177-197.

Hamdan, K.M., Al-Bashaireh, A.M., Zahran, Z., Al-Daghestani, A., AL-Habashneh,

S. & Shaheen, A.M. (2021). University Students' Interaction, Internet

Self-Efficacy, Self-Regulation and Satisfaction with Online Education

during Pandemic Crises of COVID-19 (SARS-CoV-2). International

Journal of Educational Management, 35(3), 713-725.

Jordan, C. (2013). Comparison of International Baccalaureate (IB) Chemistry

Students’ Preferred vs Actual Experience with a Constructivist Style

of Learning in a Moodle e-Learning Environment. International

Journal for Lesson and Learning Studies, 2(2), 155-167.

Laudon, K.C. & Laudon, J.P. (2018). Management Information Systems

(14th ed). New York: Pearson Education Indochina.

Mousa, M. (2021). Responsible Management Education (RME) post COVID-19:

What must change in public business schools?. Journal of Management

Development, 40(2), 105-120.

Porcaro, D. (2011). Applying Constructivism in Instructivist Learning Cultures.

Multicultural Education & Technology Journal, 5(1), 39-54.

Raza, S.A., Qazi, W., Khan, K.A., & Salam, J. (2020). Social Isolation and

Acceptance of the Learning Management System (LMS) in the Time

of COVID-19 Pandemic: an Expansion of the UTAUT model. Journal

of Educational Computing Research, 59(2), 183-208.