ความผูกพันในงานในฐานะปัจจัยคั่นกลางที่เชื่อมโยงต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงสู่พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานบริษัทรับเหมาก่อสร้างในจังหวัดนครปฐม
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง, ความผูกพันในงาน, พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความผูกพันในงาน และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานบริษัทรับเหมาก่อสร้างในจังหวัดนครปฐม และ 2) เพื่อศึกษาความผูกพันในงานเป็นตัวแปรคั่นกลางที่เชื่อมโยงระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานบริษัทรับเหมาก่อสร้างในจังหวัดนครปฐม งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) โดยการสำรวจกลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นพนักงานบริษัทรับเหมาก่อสร้างในจังหวัดนครปฐม จำนวน 200 คน ภายใต้แนวคิดของ Hair et al., (2006) โดยสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นโดยรวมเท่ากับ 0.892 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) และ 2) สถิติเชิงอนุมานการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (Structural equation modeling: SEM) ด้วยโปรแกรม Smart PLS 3.0 ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความผูกพันในงานและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานบริษัทรับเหมาก่อสร้างในจังหวัดนครปฐมมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมากเท่ากับ 3.97, 3.83 และ 3.91 ตามลำดับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.792, 0.714 และ 0.754 ตามลำดับ และ 2) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และความผูกพันในงานมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีโดยมีค่าเท่ากับ 0.292 และ 0.762 ตามลำดับ นอกจากนี้ผู้นำการเปลี่ยนแปลงยังมีอิทธิพลทางอ้อมโดยความผูกพันในงานเป็นตัวแปรส่งผ่านมีค่าเท่ากับ 0.531
References
Best, J. W. (1981). Research in Education (4th ed.). Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall.
Bortnowska, H., & Seiler, B. (2023). Organizational citizenship Behaviors and Psychological working conditions examined through the prism of for-profit, public and nonprofit organizations. Scientific Papers of Silesian University of Technology – Organization & Management Series, 2023(184).
Budur, T. (2020). Effectiveness of transformational leadership among different cultures. International Journal of Social Sciences & Educational Studies, 7(3), 119-129.
Hair, E., Halle, T., Terry-Humen, E., Lavelle, B., & Calkins, J. (2006). Children's school readiness in the ECLS-K: Predictions to academic, health, and social outcomes in first grade. Early Childhood Research Quarterly, 21(4), 431-454.
Khalilzadeh, M., & Ghesmati, H. (2024). Organizational citizenship behavior based on trust in organizational spirituality and participation in non-profit service organizations: A case study in Iran. Cogent Social Sciences, 10(1), 2270845.
Likert, R. (1932). A technique for the measurement of attitudes. Archives of psychology.
Ma, E., Wang, Y.C., Xu, S. T., Wang, D., (2022). Clarifying the multi-order multidimensional structure of organizational citizenship behavior: a cross-cultural validation. Journal of Hospitality and Tourism Management. 50, 83–92 (December 2021). DOI: 10.1016/j.jhtm.2021.12.008.
Maquieira, S. P., Tarí, J. J., & Molina-Azorín, J. F. (2020). Transformational leadership and the European Foundation for Quality Management model in five-star hotels. Revista De Análisis Turístico, 27(2), 99–118.
Na-Nan, K., Kanthong, S. and Joungtrakul, J. (2021). An Empirical Study on the Model of Self-Efficacy and Organizational Citizenship Behavior Transmitted through Employee Engagement, Organizational Commitment and Job Satisfaction in the Thai Automobile Parts Manufacturing Industry. Journal of Open Innovation: Technology, Market, and Complexity. Vol. 7 No 170 page 1-19 https://doi.org/10.3390/joitmc7030170.
Nugraha, D. and Kharismasyah, A. Y. (2024). Perceived Organizational Support as Mediation of Work Engagement and Self-efficacy on Employee Performance. Asian Journal of Economics, Business and Accounting. Vol. 24, No. 2, (January), pp. 136-149. DOI: 10.9734/AJEBA/2024/v24i21230.
Nunnally, J. C. (1978). An overview of psychological measurement. Clinical diagnosis of mental disorders: A handbook, 97-146.
Pudjiantoro, H., Sudiarditha, K. R., and Eryanto, H. (2022). The Influence of Ethical Leadership on Employee Performance with Organizational Citizenship Behavior as Intervening Variable. Economics & Management, 4(98), (October), pp. 114-120. DOI https://doi.org/10.33146/2307-9878-2022-4(98)-114-120.
Rabiul, M. K., Mohamed, A. E., Patwary, A. K., Yean, T. F. & Osman, S. Z. (2023). Linking human resources practices to employee engagement in the hospitality industry: the mediating influences of psychological safety, availability and meaningfulness. European Journal of Management and Business Economics. 32(2), 223-240.
Tirno, R. R., and Qurishy, N. (2024). Influencing employee performance through knowledge management: The role of organizational citizenship behavior as a mediator. Jahangirnagar University Journal of Management Research, Vol.6, (January). pp. 1-14. https://doi.org/10.20236/3wb3j x39.
Wang, J., Woerkom, M. V., Breevaart, K., Bakker, A. B. and Xu, S. (2023). Strengths-based leadership and employee work engagement: A multi-source study. Journal of Vocational Behavior Volume 142, April 2023, 103859 page 1-13. https://doi.org/10.1016/j.jvb.2023.103859.
Wojtczuk-Turek, A. (2022). Who needs transformational leadership to craft their job? The role of work engagement and personal values. Baltic Journal of Management, 17(5), 654–670.
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2566). ข้อมูลการจดทะเบียนนิติบุคคลจังหวัดนครปฐม. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.
วิจัยกรุงศรี. (2567). ข้อมูลเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนาธุรกิจก่อสร้าง SMEs. กรุงเทพฯ: ธนาคารกรุงศรีอยุธยา.
วิจัยกรุงศรี. (2567). แนวโน้มธุรกิจก่อสร้างในประเทศไทย: การเติบโตของธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง. สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ชาชิณี มณีดวงมณฑา. (2562). ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อความผูกพันของพนักงานฝ่ายสนับสนุนชาวไทยในองค์กรญี่ปุ่นข้ามชาติ. การจัดการมหาบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.
นฤบาล ยมะคุปต์ และ กิตติศักดิ์ แก้วนิลประเสริฐ. (2564). ความรู้สึกมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของประชาชนในจังหวัดตรัง. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 13(3), 55-69.
ศักร์ระภีร์ วรวัฒนะปริญญา. (2563). ปัจจัยการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรที่ส่งผลต่อความยึดมั่นผูกพันในงานของพนักงานระดับปฏิบัติการกลุ่มอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า จังหวัดระยอง. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 26(2), 15-29.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2567). การเติบโตของอุตสาหกรรมรับเหมาก่อสร้างภายในประเทศ. https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=index.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2567). มูลค่าการลงทุนภาครัฐและเอกชนในด้านธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2567). รายงานสถานการณ์การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานแรงงานจังหวัดนครปฐม. (2566). แรงงานกรรมกรภายในธุรกิจ SMEs ก่อสร้างที่เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ภายในจังหวัดนครปฐม. https://chatgpt.com/c/675545f7-106c-8012-b061-82dafe66508b.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Journal of Industrial Business Administration

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.