ความคาดหวังการเรียนรู้และการรับรู้การสนับสนุน กับความผูกพันต่อองค์การ กรณีศึกษานักศึกษาสาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
คำสำคัญ:
ความคาดหวัง, การเรียนรู้การรับรู้การสนับสนุน, ความผูกพันต่อองค์การบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังการเรียนรู้ และการรับรู้การสนับสนุน กับความผูกพันต่อองค์การ ของนักศึกษาสาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และ(2) เพื่อศึกษาอำนาจพยากรณ์ของความคาดหวังการเรียนรู้ และการรับรู้การสนับสนุน ที่มีต่อความผูกพันต่อองค์การ ของนักศึกษาสาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาสาขาวิชาการบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์ จำนวน 109 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยแบบสอบถามความคาดหวังการเรียนรู้ แบบวัดการรับรู้การสนับสนุน และแบบวัดความผูกพันต่อองค์การ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์
สหสัมพันธ์โดยวิธีการทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) ผลการวิจัยพบว่า
1. ความคาดหวังการเรียนรู้และการรับรู้การสนับสนุนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .436 และ .443 ตามลำดับ) 2. ความคาดหวังการเรียนรู้ และการรับรู้การสนับสนุน สามารถร่วมกันพยากรณ์ความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยตัวแปรทั้ง 2 สามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของความผูกพันต่อองค์การได้ร้อยละ 26.70
References
Aggarwal-Gupta, M., Vohra, N., & Bhatnagar, D. (2010). Perceived Organizational Support and Organizational Commitment: The Mediational Influence of Psychological Well-Being.
Journal of Business and Management, 16(2), 105-124. https://www.proquest.com/docview/847845672?parentSessionId = w84gK1iuPIeCpJJvgL8uEQzHGDfweXE8WCOX3
grvgHA%3D&sourcetype=Scholarly%20Journals
Allen, N. J., & Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance and normative commitment to the organization. Journal of occupational Psychology,6(3), 1-18.https://doi.org/10.1111/j.2044-8325.1990.tb00506.x
Buchanan, H. B. (1974). building organization commitment the socialization of managers in work organization. Administrative Science Quarterly, 19(4), 533 - 546.https://doi.org/10.2307/2391809
Currie, P., & Dollery, B. (2006). Organizational commitment and perceived organizational support in the NSW police. An International Journal of Police Strategies and
Management, 29(4), 741-756. https://doi.org/10.1108/13639510610711637
Eisenberger, R., Cummings, J., Armeli, S., & Lynch, P. (1997). Perceived organizational support,discretionary treatment, and job satisfaction. Journal of Applied Psychology, 82(5), 812-820.
Eisenberger, R., Huntington, R., Hutchison. S., & Sowa, D. (1986). Perceived Support. Journal of Applied Psychology, 3(71), 500-507. https://doi.org/10.1037/0021- 9010.71.3.500
Hinkle, D.E. (1998). Applied Statistics for the Behavioral Sciences. Houghton Mifflin.Ivancevich, M. J. ; Konopaske, R. , & Matteson, M. T. (2011) . Organizational Behavior and Management. (9th ed.). McGraw-Hill.
Rhoades, L., & Eisenberger, R. (2002). Perceived Organizational Support: A Review of the Literature. Journal of Applied Psychology, 87(4),698-714.tps://doi.org/10.1037//0021-
87.4.698
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the Assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60.
กมลรัตน์ จุฑามณีพงษ์. (2561). การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ ความผูกพันในงาน กับความผูกพันต่อองค์การ: กรณีศึกษาบุคลากรภายในหน่วยงานสำนักการระบายน้ำกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คณะทำงานขับเคลื่อนและติดตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ด้านคุณภาพอุดมศึกษา) และคณะอนุกรรมการจัดทำกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเชิงยุทธศาสตร์และคุณลักษณะเฉพาะกลุ่ม (Strategic Profile & Strategic Attributes). (2564). คู่มือการประเมินการกำหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา (ฉบับปรับปรุง)https://op.chandra.ac.th/plan/images/pdf/sar%20University%20Strategic%20(Repositioning)%20-%20Final%20Update-V.8-Date-17-June-2021.pdf
จิดาพันธุ์ ศรีเทศ. (2552). การเปรียบเทียบการรับรู้วัฒนธรรมองค์การความผูกพันต่อองค์การระหว่างพนักงานโรงแรมในเครือข่ายของไทยกับเครือข่ายของต่างประเทศในจังหวัดเชียงใหม่ (การค้นคว้าแบบอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2557). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชูชัย สมิทธิไกร และพงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่องานและความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . Kasetsart Journal of social sciences, 38(2),655-667.
นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ์. (2558). ความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร: ความท้าทายของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลายของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 8(1), 16-31.
ปรียาภา จาติกุล. (2556). การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ ความผูกพันในงาน และความผูกพันต่อองค์การ กรณีศึกษาบริษัท พัฒนาซอฟต์แวร์แห่งหนึ่ง(งานวิจัยส่วนบุคคลศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ).
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปานชนก โชติวิวัฒน์กุล. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การและความผู กพั นต่ อองค์ การของพนั กงานโรงพยาบาลเอกชน. วารสารชุ มชนวิ จั ย, 13(1), 154-166.
https://doi.org/10.14456/10.14456/nrru-rdi.2019.12
พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2553). รายงานผลการวิจัยคุณลักษณะของบุคคล การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การการรับรู้ความสามารถของตนด้านอาชีพ ความพึงพอใจในงาน กับความตั้งใจลาออกจากงานของพนักงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ภาภรณ์ เหล่าพิลัย และจรัญ แสนราช. (2562). การวิเคราะห์การลาออกกลางคันของนักศึกษาระดับปริญญาตรีโดยใช้เทคนิควิธีการทำเหมืองข้อมูล. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 16(2), 61-71.ภาณุ ปัณฑุกำพล และกฤษดา เชียรวัฒนสุข. (2562). การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การกับผลการปฏิบัติงาน
ของพนักงาน. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. 6(1), 138-151.
มุทิตา คงกระพันธ์. (2554). อิทธิพลของการรับรู้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรผ่านความผูกพันต่อองค์กร และความพึงพอใจในงานที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่(วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน). มหาวิทยาลัยศิลปากร.
รัตนา ศิริพานิช. (2533). หลักการสรางแบบสอบวัดทางจิตวิทยาและทางการศึกษา. เจริญวิทย์การพิมพ์
สมจิตร จันทร์เพ็ญ. (2557). ความผูกพันต่อองค์การของเจ้าหน้าที่สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)(การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารพัฒนาสังคม)). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สมพงษ์ จิตระดับ. (2564). เสียงสะท้อนเครือข่ายการศึกษาจากเวที Thailand Social Development Forum 20ตุลาคม 2021. https://theactive.net/data/childrendropout-rates-after-covid19-school-in-thailand/
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2552.https://www.acad.nu.ac.th/devcourse/docs/เอกสารประกาศ%20 สกอ/ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ/ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ-เรื่อง-กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ-2552.pdf
อารี บัวแพร,จุฑามาศ ชัยวรพร และศิวพร พิสิษฐ์ศักดิ์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาต่อคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 3(1), 124-144.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.