คัมภีร์สำคัญเพื่อการศึกษาอายุรเวท

Main Article Content

วุฒิพงษ์ ถวิลสมบัติ

บทคัดย่อ

                บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายคัมภีร์สำ คัญสำ หรับการศึกษาอายุรเวทโดยเรียบเรียงเนื้อหาจากการทบทวนวรรณกรรม ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ บทความ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า อายุรเวทเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม เกี่ยวข้องกับการดำ เนินชีวิตของมนุษย์ การรักษาสุขภาพให้แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ โดยคำนึงถึงร่างกายและจิตใจไปพร้อมกัน อายุรเวทเป็นศาสตร์การแพทย์อินเดียโบราณที่มีมาตั้งแต่สมัยพระเวท ทั้งยังพบแนวคิดเกี่ยวกับอายุรเวทในวรรณคดีสันสกฤตอื่นๆ อีกด้วย แต่เนื้อหานั้นไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งนี้คัมภีร์สำ คัญที่มีเนื้อหาครบถ้วน ใช้เพื่อการศึกษาอายุรเวทเป็นหลักทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ได้แก่“พฤหัตตรยี” ประกอบด้วย 1) จรกสังหิตา 2) สุศรุตสังหิตา 3) อัษฏางคหฤทยะ ถือเป็นยอดแห่งคัมภีร์อายุรเวท และ “ลฆุตรยี” ประกอบด้วย 1) มาธวนิทานะ 2) ศารังคธรสังหิตา 3) ภาวปรกาศะ เป็นคัมภีร์รองของอายุรเวท โดยคัมภีร์เหล่านี้ถือเป็นรากฐานขององค์ความรู้ด้านอายุรเวททั้งหมดที่จะทำ ให้ผู้ศึกษาเข้าใจหลักอายุรเวทได้อย่างลึกซึ้ง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คณะอนุกรรมการจัดทำ พจนานุกรมศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย. (2555). พจนานุกรมศัพท์แพทย์

และเภสัชกรรมแผนไทย (14). วารสารการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก, 10(2), 133.

ภริตา เพิ่มผล. (2558). การศึกษาประสิทธิผลและความปลอดภัยของยามุรเมหะ (สูตรอาจารย์นิรันดร์

พงศ์สร้อยเพ็ชร และมูลนิธิฟื้นฟูการแพทย์ไทยเดิมในพระราชูปถัมภ์ฯ) ในการรักษาผู้ป่วย

เบาหวานชนิดที่ 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์].

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิมลศิริ ร่วมสุข. (2522). ประวัติวรรณคดีสันสกฤตยุคพระเวท. สหสยามพัฒนา.

ศีขริน. (2550). อายุรเวท ศาสตร์แห่งชีวิต (พิมพ์ครั้งที่ 3). เรือนบุญ.

สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอินเดียประจำ ประเทศไทย. (2566). ข้อปฏิบัติการจัดการทางคลินิก

แห่งชาติตามการแพทย์อายุรเวทและโยคะสำ หรับการจัดการโควิด-19. https://webmaster.

edu.cmu.ac.th/assets/upload/files/2020/10/20201030162755_63508.pdf

โสภณา ศรีจำ ปา. (2557). อายุรเวท ภูมิปัญญาโบราณในยุคโลกาภิวัตน์. ศูนย์ภารตะศึกษา สถาบัน

วิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.

Badge, A. B. (2013). Charak Samhita-complete encyclopedia of Ayurvedic science. International

Journal of Ayurveda & Alternative Medicine, 1(1), 12-20.

Guruge, A. (1991). The society of the Ramayana. Abhinav Publications.

Frawley, D., & Ranade, S. (2000). Ayurveda nature’s medicine. Lotus Press.

Hanumanta, D., & Murthy, K. (2023). Valmiki Ramayana: Book VI: Yuddha kanda - book of war.

https://valmikiramayan.net/utf8/yuddha/sarga101/yuddha_101_frame.htm.

Hebbar, J. (2019). Tridosha made easy: The basic Ayurvedic principle. Notion Press.

Honwad, S., & Reena. (2017). Origin & development of Ayurveda. International Ayurvedic

Medical Journal, 5(7), 2620-2627.

Hume, R. (1921). The thirteen principal upanishads. Oxford University Press.

Joshi, S. (2012). Roga nidanam. Jagdish Sanskrit Pustakalaya.

Lochan, K. (2018). Madhava-Nidana of madhavakara with the commentary of madhukosa

(an ancient text on ayurvedic diagnosis). Chaukhamba Surbharati Pakashan.

Narayan, K., & Kulkarni, S. (2018). Practical applicability of yogaasutriyam adhyayam of sushruta

samhita. World Journal of Phamacy and Pharmaceutical Sciences, 7(12), 632-637.

Narayanaswamy, V. (1981). Origin and development of Ayurveda. Ancient Science of Life,

(1),1-7.

Sharma, P. (1998). Caraka samhita (text with English translation) (4th ed). Chaukhumbha

Orientalia.

Shastri, V. (2015). Bhavaprakash nighantu. Motilal Banarsidass Publishers Pvt. Ltd.

Rhyner, H. (1998). Ayurveda: The gentle health system. Motilal Banarsidass.

Rhyner, H. (2017). Llewellyn’s complete book of Ayurveda: A comprehensive resource for the

understanding & practice of traditional Indian medicine. Llewellyn Worldwide.

Sukh Dev. (2006). Prime Ayurvedic plant drugs. Anamaya Publishers.

Weis-Boheln, S. (2018). Ayurveda beginner’s guide. Althea Press.

Vidyanath, R., & Nishteswar, K. (2021). Sarngadhara samhita: Text with English commentary.

Chaukhamba Surbharati Pakashan.