นโยบายและมาตรการของสถานศึกษาในการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดของเยาวชนในพื้นที่ชายแดน อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก

Main Article Content

วสันต์ ปวนปันวงศ์

บทคัดย่อ

                  บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาถึงนโยบายและมาตรการของสถานศึกษาในการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดของเยาวชนในพื้นที่ชายแดน อำ เภอแม่สอด จังหวัดตาก ซึ่งเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยผู้ให้ข้อมูล คือ (1) กลุ่มเจ้าหน้าที่ภาครัฐ จำ นวน 4 คน (2) กลุ่มเจ้าหน้าที่สถานศึกษาจำนวน 6 คน ผู้วิจัยได้ใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือศึกษาในครั้งนี้ซึ่งผลการศึกษาประกอบด้วย 2 ส่วนคือ (1) การดำ เนินงานและบทบาทของสถานศึกษาภายใต้ นโยบาย มาตรการป้องกัน และการแก้ไขปัญหาการใช้สารเสพติดของเยาวชน กล่าวคือ กลไกและมาตรการในการนำ นโยบายไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมนี้มีทั้งมาตรการเชิงรุกและรับต่อ สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น (2) การบูรณาการองค์ความรู้เรื่องยาเสพติดในการเรียนการสอนของสถานศึกษามีการกำ หนดเนื้อหาอย่างเป็นระบบเรียกว่า “วิชายาเสพติดศึกษา” ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาในประเด็นของมาตรการและนโยบายของสถานศึกษาต่อการป้องกันเยาวชนต่อภัยของสารเสพติดที่เป็นบุหรี่ไฟฟ้าซึ่งปัจจุบันถือว่าเป็นที่นิยมในกลุ่มเยาวชน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กิ่งกาญจน์ จงสุขไกล. (2555). สถานการณ์ปัญหายาเสพติดการแพร่ระบาดและผลกระทบในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ท่องเที่ยว: ศึกษากรณีเมืองพัทยาและเกาะล้านอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิตติธัช แสนภูวา และมณฑา จำ ปาเหลือง. (2557). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินการป้องกันแก้ไขสารเสพติดของโรงเรียนต้นแบบระบบมาตรฐานการต้านยาเสพติดในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 3(7), 78 - 89.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2563.). นโยบายการดำ เนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. http://www.lertchaimaster.com/doc/P-MOE-06022563.pdf.

เจษฎา โชคดำ รงสุข. (2559). ปัญหายาเสพติดในเด็กและเยาวชนน่าห่วง พบต้องบำ บัดป่วยจิตเพราะติดยา ถึง 1 ใน 3. https://www.hfocus.org/content/2016/07/12356

ภคมน เจริญสลุง, เชิดชาย ดวงภมร, ณัฐพัชร์ สถิตพรธนชัย, รจนาภรณ์ ศรีช่วงโชติ, ดารารัตน์ รุ่งเรือง และพชร วรรณภิวัฒน์. (2562). แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนเขตเทศบาลตำ บลท่าสายลวด อำ เภอแม่สอด จังหวัดตาก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 38(5), 84 - 94.

วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2566). สถานการณ์ ความเสี่ยง ข้อพิจารณา รัฐไทยกับปัญหายาเสพติดในเยาวชน กรณีศึกษา จังหวัดภาคเหนือตอนล่างในช่วงปี ค.ศ. 2019 - 2020. วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8(1), 61 - 76.

วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2563). รัฐ สังคม ชุมชน: สถานการณ์ความเสี่ยงของเยาวชนต่อปัญหายาเสพติดในพื้นที่ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง (รายงานวิจัย). ศูนย์วิจัยปัญหาการเสพติด (ศกก.) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา.

วิสุทธิณี ธานีรัตน์ และชัยยา น้อยนารถ. (2564). การศึกษาความพร้อมของโรงเรียนในการพัฒนาเพื่อก้าวสู่การศึกษาไทยแลนด์ 4.0 ของสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 15(1), 89 - 103.

สยามรัฐออนไลน์. (2565). แม่สอด 1 ประชุมร่วมเมียนมา แก้ปัญหายาเสพติดชายแดน พร้อมประสานติดตามคนร้ายปล้นร้านทอง. https://siamrath.co.th/n/407903

เสมอ แสงสนธิ์. (2559). ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชน โดยชุมชนในจังหวัดกำแพงเพชร. สักทอง: วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, 22(1), 107 - 118.

สนธยา ชมภู. (2557). การป้องกันปัญหายาเสพติดของเยาวชนไทย ภาคเหนือตอนล่างสู่ความเข้มแข็งศึกษาเฉพาะกรณี จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 9(3), 149 - 158.

สำ นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.). (2563). รายงานยาเสพติดโลกปี ค.ศ. 2008. https://www.oncb.go.th/PublishingImages/Lists/ONCBNews1/AllItems/

%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E

ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดแห่งชาติ. (2561). แผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามและบำบัดรักษายาเสพติด ปี 2562. https://www.oncb.go.th

United Nations. (2020). World drug report 2020. https://wdr.unodc.org/wdr2020/index2020.html

United Nations Office on Drugs and Crime. (2020). 2019 UNODC results - based annual report.

from https://www.unodc.org/unodc/en/about-unodc/index.h