เงื่อนไขที่เอื้อต่อความรอบรู้สุขภาพด้านการเข้ารับวัคซีนในเด็กแรกเกิด - 12 ปี ในจังหวัดปัตตานี: กรณีศึกษาตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

Main Article Content

อาทิตยา สมโลก
กฤษดี พ่วงรอด

บทคัดย่อ

                งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ค้นหาเงื่อนไขที่เอื้อต่อความรอบรู้สุขภาพด้านการเข้ารับวัคซีนในเด็กแรกเกิด - 12 ปี ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี:กรณีศึกษาตำ บลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการศึกษาเอกสาร การสนทนากลุ่มการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม กับกลุ่มผู้ปกครอง ผู้บริหารงาน ผู้นำ ชุมชนผู้นำ ศาสนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จำนวน 13 คน จากพื้นที่ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ผลการวิจัยพบว่า เงื่อนไขที่เอื้อให้เกิดความรอบรู้สุขภาพด้านการเข้ารับวัคซีนในเด็กแรกเกิด - 12 ปี ได้แก่ 1) การสนับสนุนจากภาครัฐ 2) สถานภาพบุคคลและครอบครัว3) ภาวะผู้นำ ท้องถิ่น 4) กลยุทธ์การสื่อสารสุขภาพ 5) กลุ่มอ้างอิง 6) ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ7) ความเชื่อเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และ 8) การเข้ารับวัคซีนในเด็กแรกเกิด - 12 ปี ผลที่ได้จากการวิจัยสามารถนำ ไปใช้ในด้านการวางแผนนโยบายเชิงกลยุทธ์ในการสื่อสาร การจัดทำ เครื่องมือการสื่อสารที่ตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและสามารถประสานขอความร่วมมือ กับกลุ่มอ้างอิงทางศาสนา หรือกลุ่มอ้างอิงทางสังคมเพื่อส่งเสริมให้เกิดความตระหนักและเห็นความสำ คัญของการเข้ารับวัคซีนในเด็ก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมควบคุมโรค. (2561). การสำ รวจความครอบครุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานและวัคซีนในนักเรียนพ.ศ. 2561. https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1031920200720031326.pdf

ชญาน์นันท์ ใจดี, เสริมศรี สันตติ และชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล. (2555). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจของผู้ดูแลเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็ก. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 18(3), 389-403.

ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์, วิมล โรมา และมุกดา สำ นวนกลาง. (2561). คู่มือแนวทางการพัฒนาสถานที่ทำ งาน สถานประกอบการและชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ. สำ นักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 เพื่อความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน (สขรส.).

ซุฮายลาห์ หะยีดาแม. (2561). การปฏิเสธวัคซีนของผู้ดูแลหลักเด็กมุสลิมในชุมชนแห่งหนึ่งของอำเภอเมืองยะลา. รายงานการวิจัยเพื่อสอบวุฒิบัตร แสดงความรู้ความชำ นาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวช ศาสตร์ครอบครัว ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย

ซำ ซูดิน ดายะ, นิรัชรา ลิลละฮ์กุล และ เจษฎากร โนอินทร์.(2561). ประสบการณ์ของผู้ปกครองเด็กชาวไทยมุสลิมต่อการปฏิเสธการรับบริการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็กอายุ 0 - 5ปี. วารสารกรมการแพทย์, 43(5), 137-147.

ณปภา ประยูรวงษ์ และมารุต ภู่พะเนีย. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุของเด็กปฐมวัย ต.กระจัน อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี. TJPHS, 2(2), 43-52.

ณัฐนันท์ ศิริเจริญ. (2555). การสื่อสารสุขภาพกับชุมชนคนพัทลุง. การประชุมวิชาการประจำ ปี 2555“State of the Art in Global Health”.

ประกายแก้ว ศิริพูล, ไพรินทร์ ยอดสุบัน, เรืองอุไร อมรไชย, อรรถพงษ์ ฤทธิทิศ, เวหา เกษมสุข นิตยา บัวสาย,นลินี กินาวงศ์ ชลิตตา ขันแก้ว และสุภา เพ่งพิศ. (2562). สถานการณ์และปัญหาการรับวัคซีนโควิด 19 ในเด็กอายุ 5-11 ปี ในชุมชน: การวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 40(3), 34-43.

ประภาภรณ์ หลังปูเต๊ะ, ยามีละห์ ยะยือริ, นิซูไรดา นิมุ, ซารีนะฮ์ ระนี. (2563). หนึ่งทศวรรษงานวิจัย ด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคชายแดนใต้: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ.วารสารเภสัชกรรมไทย, 12(1), 208-15.

มยุรี ยีปาโล๊ะ, วราภรณ์ ศิวด ารงพงศ์, และปรียนุช ชัยกองเกียรติ. (2557). แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับ การรับวัคซีนของผู้ปกครองเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนในจังหวัดยะลา. รายงานประชุมวิชาการสหวิทยา วิทยาการความหลากหลายทางวัฒนธรรม: สู่ประชาคมอาเซียน(หน้า 699-711). โรงแรมธรรมรินทร์ธนา จังหวัดตรัง.

ระพีพรรณ มูหะหมัด. (2556). อิสลามกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาชุมชนมัสยิดกมาลุล อิสลามคลองแสนแสบ กรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์].

รุสนา ดอแม็ง, ฐปนรรฆ์ ประทีปเกาะ. (2562) ปัจจัยที่มีผลต่อผู้ปกครองในการนำ เด็กอายุ 0 - 5 ปี รับการสร้าง เสริมภูมิคุ้มกันโรคพื้นฐานของจังหวัดปัตตานี. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 28(2),224-235.

วรภัทร กระทู้, อัมพวรรณ ศรีวิไล และพอใจ พัทธนิตย์ธรรม. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อเรื่องการเจ็บป่วยของผู้ปกครองชาวม้งและการมารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กอายุต่ำ กว่า 5 ปี. Naresuan University Journal: Science and Technology,26(2), 146-154.

ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้. (2563). ศอ.บต. ร่วมกับ สสจ.ปัตตานี จัดกิจกรรมรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ในกลุ่มเด็กอายุ 1-12 ปี มีเป้าหมายให้พื้นที่ ปลอดหัด ในปี 63.https://www.sbpac.go.th/?p=46524

สถาบันวัคซีนแห่งชาติ. (2564). แผนยุทธศาสตร์สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ระยะ 20 ปี(พ.ศ. 2560-2579). http://nvi.ditc.cloud/Information/DataGov/StrategicPlan/NVIStrategicPlan_2561-2579.pdf

อัจฉราพร ปิติพัฒน์, สิริณัฏฐ์ โภคพัชญ์ภูเบศ, ชลินดา คำ ศรีพล และสมสมร เรืองวรบูรณ์. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของผู้ดูแลเด็กวัยเตาะแตะ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ, 34(3), 1-10.

อีระฟาน หะยีอีแต และประภาภรณ์ หลังปูเต๊ะ. (2563). รูปแบบการส่งเสริมความครอบคลุมของวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี จังหวัดยะลา. วารสารอัล-ฮิกมะฮ, 10(20), 137-148.

Ajzen, I. (1991). The theory of planned behavior. Organizational Behavior and Human DecisionProcesses, 50(2), 179-211.

Champion, V. L., & Skinner, C. S. (2008). The health belief model. In K. Glanz, B. K. Rimer,& K. Viswanath (Eds.), Health behavior and health education: Theory, research, andpractice (pp. 45-65). Jossey-Bass.

Chatio, S., Welaga, P., Tabong, P., & Akweongo, P. (2019). Factors influencing performanceof community-based health volunteers’ activities in the Kassena-Nankana Districts ofNorthern Ghana. PLOS ONE, /https://doi.org/10.1371/journal.pone.0212166

Gifford, W., Davies, B., Tourangeau, A., & Lefebre, N. (2011). Developing team leadership to

facilitate guideline utilization: Planning and evaluating a 3-Month intervention strategy.

Journal of Nursing Management, 19(1), 121-132.

Mancuso, J. M. (2008). Health literacy: A concept/dimensional analysis. Nursing & HealthSciences, 10(3), 248-255. /https://doi.org/10.1111/j.1442-2018.2008.00394.x

Manganello, J. A. (2008). Health literacy and adolescents: a framework and agenda for future research. Health Education Research, 23(5), 840-847. /https://doi.org/10.1093/her/cym069

Mansuri, F. A., & Baig, L. A. (2003). Assessment of immunization service in perspective of both the recipients and the providers: A reflection from focus group discussions. J Ayub Med Coll Abbottabad, 15(1), 14-8.

Masood, M., & Afsar, B. (2017). Transformational leadership and innovative work behavior among nursing staff. Nursing Inquiry, 24(4). /https://doi.org/10.1111/nin.12188

Miles, M. B., & Huberman, A. M. (1994). Qualitative data analysis: An expanded sourcebook. SAGE Publications.

Neuhauser, L., & Kreps, G. L. (2011). Rethinking communication in the e-health era. Journal of Health Psychology, 8(1), 7-23.

Nutbeam, D. (2008). The evolving concept of health literacy. Social Science & Medicine, 67(12), 2072-8.

Patton, M. Q. (2002). Qualitative research & evaluation methods (3rd ed.). Sage Publications.

Richard, J. C. & Turner, N. T. (2010). Essential social psychology (2nd ed.). Sage Publication.Yin, R. K. (2009). Case study research: Design and methods. Calif