อวตาร: การผจญภัยของวีรบุรุษ

Main Article Content

สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ

บทคัดย่อ

                  การผจญภัยของวีรบุรุษจากภาพยนตร์เรื่อง อวตาร ในครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่า ภาพยนตร์เสนอฉากเกี่ยวกับ “การผจญภัยของวีรบุรุษ” ซึ่งคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์ ได้นำ มาวิเคราะห์การเขียนบทภาพยนตร์ที่สร้างความนิยมอยู่ในปัจจุบันไว้ จำ นวน 10 ขั้นตอน ได้แก่ 1) โลกใบเดิม 2) เสียงเรียกสู่การผจญภัย 3) พบ ครูบาอาจารย์ 4) การข้ามธรณีประตูแรก 5) การทดสอบ, พันธมิตร, ศัตรู6) การเข้าไปในถ้ำ ลึก 7) การทดสอบที่สาหัสสากรรจ์ 8) ได้รางวัล 9) การคืนชีพ และ 10) การกลับมาพร้อมน้ำอมฤต โดยขั้นตอนที่หายไปคือการเดินทางกลับสู่โลกใบเดิมของวีรบุรุษ ถือเป็นบทสรุปที่สำคัญที่แสดงให้เห็นว่าวีรบุรุษในภาพยนตร์เรื่องนี้ เลือกที่จะดำ รงชีวิตอยู่ในโลกพิเศษที่เขาได้เข้าไปเรียนรู้เพราะวิถีชีวิตของชาวนาวีที่เชื่อมโยงกับพระผู้สร้างและธรรมชาตินั้น ทำ ให้วีรบุรุษได้ค้นพบแนวทางในการพัฒนาจิตวิญญาณของชีวิตมนุษย์ อันจะนำ ไปสู่เป้าหมายสูงสุดในชีวิต 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤษณะไทวฺปายนวฺยาส. 2509. ศรีมัทภควัทคีตา (หรือเพลงแห่งชีวิต). สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.

จำเริญลักษณ์ ธนะวังน้อย. (2544). ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ไทยตั้งแต่แรกเริ่มจนสิ้นสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

แคมพ์เบลล์ และมอยเยอร์ส. (2551). พลานุภาพแห่งเทพปกรณัม (พิมพ์ครั้งที่ 2). อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

แคทรียา อังทองกำ เนิด. (2562). อาร์คีไทพ์อวตาร: ปรากฏการณ์ทางเทพปกรณัมในศาสนาฮินดูและพระพุทธศาสนา. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ กัด (มหาชน).

ปพักตร์อร ธรรมกวินทิพย์ และบารนี บุญทรง. (2557). การผจญภัยของวีรบุรุษ: กรณีศึกษาจากพระอภัยมณี. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 11(1), 75

สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ . (2564). โฟรเซ่น 2: การเดินทางของวีรบุรุษจากเทพปกรณัมสู่ภาพยนตร์กับมุมมองทางคติชนวิทยา. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร, 16(2), 72 - 86.

กิ่งแก้ว อัตถากร. (2565). อุปนิษัท: คัมภีร์เพื่อความสงบศานติ. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง

Vogler, C. (2007). The Writer’s journey: Mythic structure for writers. (3rd ed.). Michael Wiese

Productions.