ภาพลักษณ์ประเทศไทยผ่านรายการโทรทัศน์จีน : กรณีศึกษารายการวาไรตี้ ทอล์กโชว์ “ซื่อเจี้ยชิงเหนียนซัว”

Main Article Content

กัญญ์วรา เจนพินิจกุล
เกวลี เพชราทิพย์

บทคัดย่อ

                การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของประเทศไทยที่ถูกนำเสนอผ่านรายการวาไรตี้ทอล์กโชว์ซื่อเจี้ยชิงเหนียนซัว    ผลการศึกษาพบว่า การนำเสนอภาพลักษณ์ประเทศไทยผ่านรายการโทรทัศน์จีน: กรณีศึกษารายการวาไรตี้ทอล์กโชว์ “ซื่อเจี้ยชิงเหนียนซัว”    ในมุมมองด้านวัฒนธรรมตรงกับกรอบแนวคิดที่ตั้งไว้ และสามารถแบ่งภาพลักษณ์ประเทศไทยออกเป็น 2 ประเภท คือ ภาพลักษณ์เชิงบวกและภาพลักษณ์เชิงลบ ซึ่งการนำเสนอภาพลักษณ์ประเทศไทยผ่านรายการวาไรตี้ทอล์กโชว์ “ซื่อเจี้ยชิงเหนียนซัว” นั้นส่วนใหญ่เป็นภาพลักษณ์เชิงบวก อย่างไรก็ตามมีเพียง 2 ด้านเท่านั้นที่ปรากฎเป็นภาพลักษณ์เชิงลบ ได้แก่ ภาพลักษณ์ด้านเศรษฐกิจและภาพลักษณ์ด้านสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การนำเสนอภาพลักษณ์ประเทศไทยผ่านรายการวาไรตี้ทอล์กโชว์ “ซื่อเจี้ยชิงเหนียนซัว” เป็นการนำเสนอภาพลักษณ์ประเทศไทยเชิงบวกมากกว่าภาพลักษณ์เชิงลบ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

งามพิศ สัตย์สงวน (2538). หลักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เฉาเข่อฝาน และ หวังฉวิน. (2002). ศิลปะแห่งการเป็นพิธีกรรายการทอล์กโชว์. Shanghai Academy

of Social Sciences Press.

ชัยยงค์พรหมวงศ์, นิคม ทาแดง และไพบูรณ์คะเชนทรพรรค์. (2547). ความรู้เรื่องรูปแบบรายการโทรทัศน์. http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter9-3.html

ถางกวงหง. (2547). เกี่ยวกับภาพลักษณ์ประเทศ. International Studies.

เสรีวงษ์มณฑา. (2541). ภาพพจน์นั้น...สำ คัญไฉน. ธีระฟิลม์และไซเท็กซ์.

อมรา พงศาพิชญ์. (2541). วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธุ์: วิเคราะห์สังคมไทยแนวมานุษยวิทยา.สำ นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อู๋อี้ว์. (2005). การแพร่ภาพทางโทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง และโฮสติ้งร่วมสมัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2).

Fudan University Press.

Jefkins, F. (1982). Public relations mode simple. Heinemann.

Kotler, P. (1997). Marketing management. Prentice Hall