ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาวะจิตของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินสายการบิน ต้นทุนต่ำ ในยุคนววิถีกับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการให้บริการบนอากาศยาน

Main Article Content

สโรชา อ่วมอุ่ม
ณัฐนุช อิสริยกุลการ
รัชดา รื่นรวย

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


         งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระดับสุขภาวะจิตของพนักงานต้อนรับ
บนเครื่องบินสายการบินต้นทุนต่ำ ในสถานการณ์โควิด-19 และ 2) พยากรณ์ระดับสุขภาวะจิตของ
พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินสายการบินต้นทุนต่ำ ในสถานการณ์โควิด-19 การศึกษานี้ใช้แบบสอบถาม
ออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินสายการบินต้นทุนต่ำ จำ นวน
317 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่และการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก และใช้สถิติการวิเคราะห์
การถดถอยเชิงเส้นพหุคูณในการวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล
           ผลการวิจัยพบว่า เพศ การรับรู้สภาพแวดล้อมการทำ งานด้านกายภาพ และการบริหารจัดการ
องค์กรเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลส่งผลต่อสุขภาวะจิตของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน โดยพบว่าเพศหญิง
มีระดับสุขภาวะจิตดีกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติในขณะที่ปัจจัยด้านการรับรู้สภาพแวดล้อม
การทำ งานด้านกายภาพมีความสัมพันธ์เชิงลบ และปัจจัยด้านการบริหารจัดการองค์กรมีความสัมพันธ์
เชิงบวกอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติต่อระดับสุขภาวะจิตของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน ซึ่งผลการวิจัย
ดังกล่าวสามารถนำ ไปสู่การเสนอแนวทางในการยกระดับการให้บริการบนอากาศยานของสายการบิน
ต้นทุนต่ำ ในสถานการณ์โควิด-19 ได้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กองเศรษฐกิจการบิน ฝ่ายส่งเสริมอุตสาหกรรมการบิน. (2563). รายงานสถิติขนส่งทางอากาศไตรมาสที่ 1 - 2 ประจำ ปีพ.ศ. 2563.

https://www.caat.or.th/th/archives/52894.

กิ่งแก้ว ทรัพย์พระวงศ์. (2555). สุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุไทย. BU Academic Review, 11(2),99–110.

เฌอศานต์ ศรีสัจจัง (2563). ทางเลือก-ทางรอด “สายการบิน” ยุค COVID-19. https://news.thaipbs.or.th/content/295197

ดารวันต์ รักสัตย์. (2557). อิทธิพลของลักษณะทางพุทธที่มีต่อสุขภาวะจิตของวัยรุ่นที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาจิตเยาวชนแบบบูรณาการ ณ ยุวพุทธิกสมาคมแห่ง

ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์โดยมีความเข้มแข็งในการมองโลกเป็นตัวแปรส่งผ่าน [ปริญญานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ].

ธีรนัย ศิริเลขอนันต์. (2552). การศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานและระดับความเครียดกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน

[สาขาบริหารธุรกิจ,มหาวิทยาลัยกรุงเทพ].

นันทกานต์สายปัน. (2555). การบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำ เร็จตามตัวชี้วัดคำ รับรองการปฏิบัติราชการของกรมส่งเสริมการปกครอง กรณีศึกษา

เทศบาลตำ บลแม่ทะ อำเภอแม่ทะจังหวัด ลำปาง [สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเนชั่น].

ปริชมน แสงมาน. (2555). การศึกษาสุขภาวะทางจิตของแกนนำ ผู้ติดเชื้อเฮชไอวี เขตกรุงเทพ[วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร. มหาวิทยาลัย

ศิลปากร.

ปวิตรา ทองมาและสุวิณาวิวัฒน์วานิช. (2560). ปัจจัยทำ นายสุขภาวะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยรัฐ. Journal of Nursing Science

Chulalongkorn University, 29, 30–41.

ปวิตาลาภละมูล. (2557). ความเครียดในองค์กรที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ไอ.เทค.คอมมูนิเคชั่น จำ กัด [สารนิพนธ์,

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ].มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ.

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ งาน (องค์การมหาชน). (2563).คู่มือความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน

การทำงานสำหรับลูกจ้างทั่วไปและลูกจ้างเข้าทำ งานใหม่. T-OHS.

สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (2554). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สมพร รุ่งเรืองกลกิจ. (2553). เพศภาวะกับสุขภาพจิต. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 55,109–118.

สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย: CAAT. (2564). ประกาศสำ นักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย เรื่อง แนวปฏิบัติในการให้บริการผู้โดยสารสำ หรับ

เส้นทางการบินภายในประเทศในระหว่างสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ฉบับที่ 6).สำ นักงานการบินพลเรือนแห่ง

ประเทศไทย: CAAT

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก. TourismEconomic Review:รายงานสภาวะเศรษฐกิจการท่องเที่ยว,

(4),6.สำ นักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

อาพัทธ์เตียวตะกูล, รุจิราภรณ์พันธ์นงค์, กนกพร ทัพภูตา, และเกริกเกียรติสิงห์ทอง. (2564). ความสัมพันธ์ของกิจกรรมทางกายกับสุขภาวะทางจิตของนิสิตครูคณะ

ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารสุขศึกษาพลศึกษา และสันทนาการ, 47(1), 166–174.

อาริยา สุขโต. (2564). วิกฤตโควิด-19 กับการปรับตัวของธุรกิจการบิน. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

Bradburn, N. M. (1966). The structure of psychological well-being. Chicago: Aldine.

Dupuy, H. J. (1977). The general well-being schedule. In Mcdowell, & Clair Newell (Eds.),Measuring health: a guide to rating scales and

questionnaires. Oxford University Press.

Dupuy, H. J. (1984).The psychological general well-being (PGWB) index: Assessment of quality of life in clinical trials of cardiovascular

therapies. Le Jacq Publishing.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J. and Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th Edition). Pearson.

Kline, R. B. (2005). Principles and practice of structural equation modeling (Second edition).Guilford.

University of Southern California (USC) and PwC. (2563). 4 หลักการบริหารสุขภาวะพนักงานในฐานะทรัพยากรขององค์กร. University of Southern

California (USC) and PwC.