ภูมิวัฒนธรรม: นิยาม แหล่งวิทยาการ กระบวนทัศน์ และกระบวนการศึกษาเพื่อการพัฒนาทางวัฒนธรรม
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัฒนธรรมที่ได้รับการออกแบบและสรรสร้างขึ้นโดยมนุษย์ทั้งจงใจหรือไม่จงใจ หรือวัฒนธรรมที่มีวิวัฒนาการมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การปกครอง หรือศาสนา และมีการพัฒนาสืบเนื่องมาถึงปัจจุบัน จัดเป็นข้อมูลประวัติศาสตร์เชิงสัญลักษณ์ ระบบคุณค่า ทัศนคติ ความสัมพันธ์
ศิลปะ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีร่วมด้วย อันเป็นความรู้ที่เป็นตัวแทนของธรรมชาติและผลงานของมนุษย์ที่มีลักษณะเด่นเฉพาะ ซึ่งมนุษยชาติปัจจุบันควรให้ความสำ คัญ อันเนื่องจากสิ่งเหล่านี้คือภูมิวัฒนธรรมที่มีความหมายในการสร้างสรรค์ปริมลฑลของวิถีชีวิตมนุษย์ปัจจุบัน โดยเฉพาะการ
สร้างสรรค์วัฒนธรรมภายใต้มายาคติความทันสมัยของการพัฒนา ซึ่งมิใช่วิธีคิดที่เป็นสากลเหมือนกันไปทุกแห่ง ด้วยเหตุนี้มนุษย์จึงจำ เป็นต้องจัดวางและพิจารณาความทันสมัยในบริบททางภูมิวัฒนธรรมอันเป็นทรัพย์สินที่รอให้มนุษย์จรรโลงรักษาต่อยอด บทความวิชาการนี้ จึงได้นำ เสนอนิยาม แหล่ง
วิทยาการ กระบวนทัศน์ และกระบวนการศึกษาเพื่อการพัฒนาทางวัฒนธรรม เพื่อจักเป็นพื้นฐานสำคัญในการศึกษาเกี่ยวกับคุณค่าและความหมายของวัฒนธรรม รวมถึงมรดกทางวัฒนธรรมที่ปรากฎขึ้นทั้งในพื้นที่ทางกายภาพและพื้นที่ทางสังคม
Article Details
References
เกรียงไกร เกิดศิริ. (2551). ชุมชนกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม. สำนักพิมพ์อุษาคเนย์.
ครรชิต พุทธโกษา. (2554). คู่มือการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ฉบับสมบูรณ์. htttp://www.kruinter.com/file/29720141006205700-%5Bkruinter.com%5D.pdf.
ชนัญ วงษ์วิภาค. (2532). นิเวศวัฒนธรรม. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์. (2553). ความเข้าใจบางประการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ภูมิทัศน์วัฒนธรรมในประเทศไทย.วารสารอาษา, 3, 104 - 113.
ประมาณ เทพสงเคราะห์. (2549). ภูมิทัศน์วัฒนธรรมกับการพัฒนา. สำ นักพิมพ์กระทรวงมหาดไทย.
ปัญญา เทพสิงห์. (2553). แนวทางการวิจัยศิลปวัฒนธรรมในเมืองหาดใหญ่. วารสารศิลปศาสตร์, 2(2),133-150.
ยศ สันตสมบัติ. (2559). มนุษย์กับวัฒนธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 4). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
แววรวี ลาภเกิน และรุ่งทิพย์ พุ่มดนตรี. (2561). ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของชาวสวนเมืองนนท. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม,13(1), 21 - 31.
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2554). การศึกษาสังคมไทยผ่านภูมิวัฒนธรรม. http://lek-prapai.org/watch.php?id=84.
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2556). เปิดประเด็นพื้นที่วัฒนธรรม: การโต้กลับทางภูมิปัญญาของคนใน. https://lek - prapai.org/home/view.php?id=1009.
ศรุติ โพธิ์ไทร และชวาพร ศักดิ์ศรี. (2555). การแปรเปลี่ยนภูมิทัศน์วัฒนธรรมลาวโซ่งหนองปรง:ที่ว่างอันเกี่ยวเนื่องกับประเพณี. บีบีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์.
สนอง โลหิตวิเศษ. (2557). แหล่งวิทยาการชุมชนเพื่อการศึกษานอกระบบ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมชนก ภาสกรจรัส. (2559). การจัดการเชิงเปรียบเทียบ/การจัดการข้ามวัฒนธรรม. ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สุธิดา แจ้งประจักษ์. (2563). กระบวนทัศน์ในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสวัสดิการสังคม. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 8(4), 1567 - 1580.
สุมาลี สังข์ศรี. (2557). หน่วยที่ 1แหล่งวิทยาการชุมชนในสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อการศึกษาตลอดชีวิตใน แหล่งวิทยาการเรียนรู้ในชุมชน. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อนุวัฒน์ การถัก และ ทรงยศ วีระทวีมาศ. (2558). ภูมิทัศน์วัฒนธรรม: ความหมาย พัฒนาการทางแนวคิด และทิศทางการศึกษาวิจัย. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 14(2), 1 - 12.
อมร กฤษณพันธุ์. (2555). สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในบริบทพลวัตภูมิทัศน์วัฒนธรรม: กรณีศึกษาชุมชนชาวแพแม่ นํ้าสะแกกรัง จ. อุทัยธานี. สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, 11(1), 1 - 13.
Fernando, R.A.N. (2011). Ontological and anthropological aspects of the concept of human nature.Kanz Philosophia. A Journal for Islamic Philosophy and Mysticism, 1(2), 133 - 144.
Ingold, T. (2016). A naturalist abroad in the museum of ontology: Philippe Descola’s beyondnature and culture. Anthropological Forum, 26(3), 301 - 320.
James, P.E., & Martin, G. (1981). All possible world: A history of geographical Ideas. John Wiley and Sons.
Limmanee, A. (1999). Political explanation and analysis: Major concerns under the philosophy of social sciences. Faculty of Political Science Chulalongkorn University.
Pannell, S. (2006). Reconciling nature and culture in a global context: Lessons from the world heritage list. James Cook University, Cairns.
UNESCO. (2005). Operational guidelines for the implementation of the world heritage convention. UNESCO World Heritage Centre.