การศึกษาความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Main Article Content

ชัยพร พงษ์พิสันต์รัตน์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) เพื่อเปรียบเทียบความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามจำแนกตามเพศและกลุ่มคณะ ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคามทุกชั้นปีที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2563 จำนวน 1,080 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ตามกลุ่มคณะ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความเหนื่อยหน่ายในการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t – test F – test


ผลการวิจัยพบว่า


  1. ความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตระดับปริญญาตรีโดยรวมอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{X}=3.70,D.=0.60)

  2. ความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตระดับปริญญาตรีจำแนกตามเพศ นิสิตระดับปริญญาตรีเพศชายและเพศหญิงมีความเหนื่อยหน่ายในการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

  3. ความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนิสิตระดับปริญญาตรีจำแนกตามกลุ่มคณะ นิสิตระดับปริญญาตรีที่มีกลุ่มคณะแตกต่างกันมีความเหนื่อยหน่ายในการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กานต์ชนก แซ่อุ่ย. (2554). ปัจจัยพยากรณ์ภาวะหมดไฟในการทำงานของผู้ให้การปรึกษาในเขตภาคเหนือตอนบน. จิตวิทยาคลินิก, 42(2): 19-31.

เด็กไทยเบื่อเรียนเซ็งครู. (2557). โพสต์ทูเดย์, 24 เมษายน: A6.

พัชรินทร์ เสรี. (2558). ปัญหาการเรียน. จิตเวช ศิริราช DSM-5. กรุงเทพฯ: คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. 311-325.

วิฑูรย์ สิมะโชคดี. (2559). การเรียนศตวรรษที่ 21. โพสต์ทูเดย์, 16 มิถุนายน: B2.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ประมาณการผู้สำเร็จการศึกษาและเข้าสู่ตลาดแรงงาน จำแนกตามระดับการศึกษา พ.ศ. 2553-2561 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ วันที่ 13 พฤษภาคม 2560, ได้มาจาก https://www.m-society.go.th/news_view.php?nid=19451.

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2560). Burnout Syndrome เจาะกลยุทธ์การตลาด เติมไฟให้คนวัยทำงาน. สืบค้นเมื่อ วันที่ 11 มิถุนายน 2563, ได้มาจาก https://www.smeone.info/innovationdetail/8008?fbclid=IwAR1VkQJqrLVDDqEyQEz40okADsoIxdfZQNDTIIHmCj6mMQwf5OY4i1gp-4Q.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

________. (2560). สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2559 (IMD 2016). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

Asikainena, H., Salmela-Aroc, H., Parpalab, A., Katajavuoria, N. (2020). Learning Profiles and Their Relation to Study-Related Burnout and Academic Achievement among University Students. Learning and Individual Differences, 78: 1-7.

Eaves, J.L., Payne, N. (2019). Resilience, Stress and Burnout in Student Midwives. Nurse Education Today, 79: 188-193.

Heikkila, A. (2011). University Students’ Approaches to Learning, Self-Regulation, and Cognitive and Attributional Strategies: Connections with Well-Being and Academic Success [Academic Dissertation]. Helsinki: University of Helsinki.

Herrmann, J., Koeppen, K., Kessels, U. (2019). Do Girls Take School Too Seriously? Investigating Gender Differences in School Burnout from A Self-Worth Perspective. Learning and Individual Differences, 69: 150-161.

Heugten, K.V. (2011). Social Work under Pressure: How to Overcome Stress, Fatigue and Burnout in the Workplace. London and Philadelphia: Jessica Kingsley Publishers.

Ladstatter, F., Garrosa, E. (2008). Prediction of Burnout: An Artificial Neural Network Approach. Hamburg: Diplomica Verlag GmbH.

Lin, S., Huang, Y. (2014). Life Stress and Academic Burnout. Active Learning in Higher Education, 15(1): 77-90.

Ling, C., Lan, J., Zhu-hui, Y., Nan, L. (2013). A Survey on College English Learning Burnout. Sino-US English Teaching, 10(8): 608-614.

Maslach, C., Shaufeli, W.B., Leiter, M.P. (2001). Job Burnout. Annual Review of Psychology, 52: 397-422.

Pala, A. (2012). The Burnout Level among Faculty of Education Students at Celal Bayar University. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 69: 1766-1774.

Palos, R., Maricutoiu, L.P., Costea, I. (2019). Relations between Academic Performance, Student Engagement and Student Burnout: A Cross-Lagged Analysis of a Two-Wave Study. Studies in Educational Evaluation, 60: 199-204.

Purvanova, R.K., Muros, J.P. (2010). Gender Differences in Burnout: A Meta-Analysis. Journal of Vocational Behavior, 77: 168-185.

Salmela-Aro, K., Kiuru, N., Nurmi, J. (2008). The Role of Educational Track in Adolescents' School Burnout: A Longitudinal Study. British Journal of Educational Psychology, 78: 663-689.

Salmela-Aro, K., Kiuru, N., Leskinen, E., Nurmi J. (2009). School-Burnout Inventory (SBI): Reliability and Validity. European Journal of Psychological Assessment, 25(1): 48-57.

Widlund, A., Tuominen, H., Tapola, A., Korhonen J. (2020). Gendered Pathways from Academic Performance, Motivational Beliefs, and School Burnout to Adolescents' Educational and Occupational Aspirations. Learning and Instruction, 66: 1-12.