คุณค่าแบรนด์ของหัวเว่ย วอต์ช ฟิตผ่านการสื่อสารการตลาดบนแอปพลิเคชัน ติ๊กต็อกในมุมมองของผู้บริโภค

Main Article Content

ชัชญา สกุณา

บทคัดย่อ

            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณค่าแบรนด์ของ HUAWEI Watch Fit ผ่านการสื่อสารการตลาดบนแอปพลิเคชัน TikTok ในมุมมองของผู้บริโภค โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) จากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างเคยเห็นคลิปวิดีโอแคมเปญ “Move with HUAWEI Watch Fit” ผ่านแอปพลิเคชัน TikTok มากที่สุด โดยข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าแบรนด์ของ HUAWEI Watch Fit ผ่านการสื่อสารการตลาดบนแอปพลิเคชัน TikTok พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ต่อคุณค่าแบรนด์ของ HUAWEI Watch Fit ผ่านการสื่อสารการตลาดบนแอปพลิเคชัน TikTok ในภาพรวมแต่ละด้านอยู่ในระดับมาก และมีการรับรู้ต่อคุณค่าแบรนด์หลังจากร่วมแคมเปญอยู่ในระดับมากที่สุด ในด้านการรู้จักชื่อตราสินค้า (Brand Awareness) รองลงมาคือ ด้านคุณภาพที่ถูกรับรู้ (Perceived Quality) และด้านการเชื่อมโยงกับตราสินค้า (Brand Associations) ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กาญจนา กาญจนสุฬ. (2563). พัฒนาการอินตอร์ เน็ตไทย. (13 กรกฎาคม 2564).
ได้มาจาก https://www.thnic.co.th/th/news/36/,
จิรศักดิ์ ชาพรมมา. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การตัดสินใจใช้บริการฟิตเนสเซ็นเตอร์ที่ เปิดให้บริการ 24 ชั่วโมงของผู้บริโภคใน เขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต), บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
จิรัฏฐ์ พรหมดิเรก. (2558). แฮชแท็กรณรงค์ : ความคาดหวัง การเปิดรับ และการมี ส่วนร่วมของผู้ใช้. (วิทยานิพนธ์ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต), บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
นธกฤต วันต๊ะเมล์. (2557). การสื่อสารการตลาด (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เปิดตำนาน TikTok รวมเรื่องที่คุณต้องรู้ของ แอปวิดีโอที่มีมูลค่ากิจการ 2.5 ล้านล้าน. (30 กรกฎาคม 2564). ได้มาจาก https://www.billionmindset.com/tiktok- 2-5-million-application/
เผยสถิติผู้ใช้ TikTok 2019 แพลตฟอร์มของ วัยรุ่น. (13 กรกฎาคม 2564).
ได้มาจาก
https://techsauce.co/pr-news/tiktok- trend-2019
พรรณพิลาส กุลดิลก. (2563). กลยุทธ์การสื่อ สารตราสินค้าและพฤติกรรมการสื่อสาร ของผู้ใช้งานแอปพลิเคชัน TikTok. วารสารการสื่อสารและการจัดการ นิด้า. 6(2). หน้า 35-51.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York : Harper Collins Publishers.
Dony Saputra. (2017). AIDMA Model & AISAS model in Digital Marketing Strategy. [Cited 2021 Feb 14]. Available from bbs.binus.ac.id/
Isabella B. Harris. (2014). Cultural Cues Embedded within Hashtags : Effects on Identification and Advertising Outcomes.[Dissertation] (Master's Arts), The Ohio State University, Communication.
Justin Pot. (2013). #Clueless? Everything You Need To Know About Twitter Hashtags. [Cited 2021 Feb 14]. Available from http://www.makeuseof.com/tag/cluele ss-everything-you-
need-toknow-about-twitter-hashtags
STEPS Academy. (2020). 5 ประเภท #Hashtag ทำการตลาดบนโซเชียลมีเดียให้ปัง. (16 กรกฎาคม 2564). ได้มาจาก https://stepstraining.co/social/5-types- hashtag-use,
Wittawin.A. (2563). TikTok คืออะไร. (19 สิงหาคม 2564). ได้มาจาก https://www.thumbsup.in.th/tiktok- trends-2020