โลกทัศน์ที่สะท้อนจากคำบริภาษภาษาไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮาคนเมือง”
Main Article Content
บทคัดย่อ
คำบริภาษเป็นส่วนหนึ่งของภาษาที่แสดงให้เห็นวัฒนธรรมของแต่ละกลุ่มคน บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์โลกทัศน์ที่สะท้อนจากคำบริภาษภาษาไทยถิ่นเหนือในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮาคนเมือง” งานวิจัยเก็บข้อมูลคำบริภาษที่ปรากฏในส่วนแสดงความคิดเห็นในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ฮาคนเมือง” ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2555 ถึงเดือนธันวาคม 2563 จากนั้นจึงวิเคราะห์โลกทัศน์ที่สะท้อนจากคำบริภาษตามแนวคิดสมมติฐานซาเพียร์-วอร์ฟ ผลการวิจัยพบโลกทัศน์ของคนภาคเหนือที่สะท้อนจากคำบริภาษภาษาไทยถิ่นเหนือ 2 ด้าน ได้แก่ 1) โลกทัศน์ด้านความเชื่อเกี่ยวกับผี ศาสนา สิ่งของเครื่องใช้ในพิธีกรรม และข้อห้าม 2) โลกทัศน์ด้านความเป็นอยู่เกี่ยวกับชาติกำเนิด อาชีพ พืช สัตว์ อาหาร สิ่งของเครื่องใช้ทั่วไป และโรคภัยไข้เจ็บ
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
ทิพวัลย์ เหมรา. (2560). ภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมในถ้อยคำบริภาษของผู้พูดภาษาไทยถิ่นอีสาน. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 1. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 1396-1406.
ทิพวัลย์ เหมรา. (2562). ถ้อยคำบริภาษของผู้พูดภาษาไทยถิ่นอีสาน : ความหมายของถ้อยคำ. วารสาร Humanities, Social Sciences, and Arts. 12 : 793-810.
พนมพร นิรัญทวี. (2544). ว่าด้วยเรื่องคำว่า “ด่า” กับ “บริภาษ”. จุลสารลายไทยฉบับพิเศษ. 2 : 32-36.
ภูเดช แสนสา. (2555). คำสบถและคำบริภาษในล้านนาที่มาจากเครื่องใช้ในพิธีศพ. วารสารภาษาและวรรณกรรมไทย. 2 : 200-218.
รัญชนีย์ ศรีสมาน. (2552). บทบริภาษในบทละครนอก : ภาพสะท้อนค่านิยมไทย. วารสารมนุษยศาสตร์. 16(2) : 8-21.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์.
เรณู อรรฐาเมศร์. (2528). โลกทัศน์ชาวล้านนาไทยจากวรรณกรรม. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
วิไล ธรรมวาจา. (2549). บทบริภาษ : ถ้อยคำสำนวนที่สะท้อนค่านิยมในสังคมไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์. 1(2) : 48-56.
วิสันต์ สุขวิสิทธิ์. (2547). วัจนกรรมการบริภาษในภาษาไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วีรพงษ์ พวงเล็ก. (2561). การสื่อสารผ่านแฟนเพจเฟซบุ๊กกับผลที่เกิดขึ้นต่อเจ้าของแฟนเพจเฟซบุ๊ก : กรณีศึกษาแฟนเพจเฟซบุ๊กที่ได้รับความนิยมในประเทศไทย. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ. 4(ฉบับพิเศษ) : 16-33.
วีระศักดิ์ บุญญาพิทักษ์. (2536). คำบริภาษในเพลงชาน้อง. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี.
ศรศักดิ์ ไชยมงคล. (2540). ลักษณะการบริภาษในวรรณคดีประเภทกลอนบทละครและกลอนนิทานสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศราวุธ หล่อดี. (2561). การวิเคราะห์คำเรียกผีในภาษาล้านนา. (รายงานการวิจัย). พะเยา : มหาวิทยาลัยพะเยา.
ศราวุธ หล่อดี. (2564). คำเรียกผีภาษาล้านนา : การดำรงอยู่และโลกทัศน์ของชาวล้านนา. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 21(1) : 396-420.
ศิวริน แสงอาวุธ. (2557). วัจนบริภาษในข้อความแสดงทัศนะต่อข่าวการเมืองจากสื่ออินเทอร์เน็ต. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศุภชัย ต๊ะวิชัย. (2556). การนำสัตว์มาใช้เป็นคำเรียกคนในภาษาไทย : กรณีศึกษานักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 35(2) : 54-75.
สมบัติ สมศรีพลอย. (2559). กลอนแดง : วัจนกรรมบริภาษยอกย้อนในเพลงอีแซว. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากรฉบับภาษาไทย. 36(2) : 113-126.
สมบูรณ์ ศรีระสันต์. (2542). วิเคราะห์ค่านิยมทางสังคมและการใช้ภาษาจากคำบริภาษในบทละครนอกพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
สุนทร คำยอด. (2557). อุดมการณ์สิ่งแวดล้อมในเอกสารโบราณล้านนา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา. 2(3) : 57-68.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2549). กว่าจะเป็นนักภาษาศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรทัย ชินอัครพงศ์. (2557). อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ของคำด่าในภาษาไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต). พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อรรถวิทย์ รอดเจริญ. (2552). การศึกษาการใช้ภาษาบริภาษของนักการเมืองไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อรุณี ตันศิริ. (2549). วัฒนธรรมถิ่นวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช.
อุดม รุ่งเรืองศรี. (2547). พจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง. เชียงใหม่ : มิ่งเมือง.
Sapir, E. (1957). Culture, Language, and Personality : Selected Writing of Edward Sapir. Berkeley and Los Angeles, California : University of California Press.
Whorf, B. L. (1956). An American Indian model of the universe, The relation of habitual thought and behavior to language. In Carroll, J. B. (Ed.), Language, Thought, and Reality : Selected Writings of Benjamin Lee Whorf (pp. 213-214, 264). Cambridge, Mass. : M.I.T. Press.
ทิพวัลย์ เหมรา. (2562). ถ้อยคำบริภาษของผู้พูดภาษาไทยถิ่นอีสาน : ความหมายของถ้อยคำ. วารสาร Humanities, Social Sciences, and Arts. 12 : 793-810.
พนมพร นิรัญทวี. (2544). ว่าด้วยเรื่องคำว่า “ด่า” กับ “บริภาษ”. จุลสารลายไทยฉบับพิเศษ. 2 : 32-36.
ภูเดช แสนสา. (2555). คำสบถและคำบริภาษในล้านนาที่มาจากเครื่องใช้ในพิธีศพ. วารสารภาษาและวรรณกรรมไทย. 2 : 200-218.
รัญชนีย์ ศรีสมาน. (2552). บทบริภาษในบทละครนอก : ภาพสะท้อนค่านิยมไทย. วารสารมนุษยศาสตร์. 16(2) : 8-21.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์.
เรณู อรรฐาเมศร์. (2528). โลกทัศน์ชาวล้านนาไทยจากวรรณกรรม. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
วิไล ธรรมวาจา. (2549). บทบริภาษ : ถ้อยคำสำนวนที่สะท้อนค่านิยมในสังคมไทย. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์. 1(2) : 48-56.
วิสันต์ สุขวิสิทธิ์. (2547). วัจนกรรมการบริภาษในภาษาไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วีรพงษ์ พวงเล็ก. (2561). การสื่อสารผ่านแฟนเพจเฟซบุ๊กกับผลที่เกิดขึ้นต่อเจ้าของแฟนเพจเฟซบุ๊ก : กรณีศึกษาแฟนเพจเฟซบุ๊กที่ได้รับความนิยมในประเทศไทย. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ. 4(ฉบับพิเศษ) : 16-33.
วีระศักดิ์ บุญญาพิทักษ์. (2536). คำบริภาษในเพลงชาน้อง. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี.
ศรศักดิ์ ไชยมงคล. (2540). ลักษณะการบริภาษในวรรณคดีประเภทกลอนบทละครและกลอนนิทานสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศราวุธ หล่อดี. (2561). การวิเคราะห์คำเรียกผีในภาษาล้านนา. (รายงานการวิจัย). พะเยา : มหาวิทยาลัยพะเยา.
ศราวุธ หล่อดี. (2564). คำเรียกผีภาษาล้านนา : การดำรงอยู่และโลกทัศน์ของชาวล้านนา. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 21(1) : 396-420.
ศิวริน แสงอาวุธ. (2557). วัจนบริภาษในข้อความแสดงทัศนะต่อข่าวการเมืองจากสื่ออินเทอร์เน็ต. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศุภชัย ต๊ะวิชัย. (2556). การนำสัตว์มาใช้เป็นคำเรียกคนในภาษาไทย : กรณีศึกษานักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 35(2) : 54-75.
สมบัติ สมศรีพลอย. (2559). กลอนแดง : วัจนกรรมบริภาษยอกย้อนในเพลงอีแซว. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากรฉบับภาษาไทย. 36(2) : 113-126.
สมบูรณ์ ศรีระสันต์. (2542). วิเคราะห์ค่านิยมทางสังคมและการใช้ภาษาจากคำบริภาษในบทละครนอกพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
สุนทร คำยอด. (2557). อุดมการณ์สิ่งแวดล้อมในเอกสารโบราณล้านนา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา. 2(3) : 57-68.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2549). กว่าจะเป็นนักภาษาศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรทัย ชินอัครพงศ์. (2557). อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ของคำด่าในภาษาไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต). พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อรรถวิทย์ รอดเจริญ. (2552). การศึกษาการใช้ภาษาบริภาษของนักการเมืองไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อรุณี ตันศิริ. (2549). วัฒนธรรมถิ่นวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช.
อุดม รุ่งเรืองศรี. (2547). พจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง. เชียงใหม่ : มิ่งเมือง.
Sapir, E. (1957). Culture, Language, and Personality : Selected Writing of Edward Sapir. Berkeley and Los Angeles, California : University of California Press.
Whorf, B. L. (1956). An American Indian model of the universe, The relation of habitual thought and behavior to language. In Carroll, J. B. (Ed.), Language, Thought, and Reality : Selected Writings of Benjamin Lee Whorf (pp. 213-214, 264). Cambridge, Mass. : M.I.T. Press.