บูรณาการเพลงพื้นบ้านอีสานกับท่าฤๅษีดัดตนสำหรับชมรมผู้สูงอายุ

Main Article Content

ภักศจีภรณ์ ขันทอง
พันธ์ทิพย์ ศรีธรรม
ปิ่นมณี สาระมัย
สาวิตรี เถาว์โท
ไชยวัฒน์ นามบุญลือ
อรัญญา บัวงาม

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบท่าเต้นแอโรบิกจากท่าฤๅษีดัดตนโดยใช้รูปแบบการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีจำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การสังเกต การจดบันทึก และแบบประเมินความพึงพอใจ ผลการศึกษาพบว่า มีการพัฒนาท่าเต้นรำพื้นบ้านจำนวน 44 ท่า โดยมีความพึงพอใจรวมเฉลี่ย 4.22 ± 0.76 คะแนน อยู่ในเกณฑ์มากที่สุด ด้วยการใช้ทำนองเพลงลำเพลิน มีการดำเนินงาน 6 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาบริบท 2) การสาธิตและฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยท่าฤๅษีดัดตน 3) การระดมสมองแต่งเพลง 4) การระดมสมองออกแบบท่า 5) การพัฒนาท่าเต้นรำพื้นบ้านต้นแบบจากท่าฤๅษีดัดตน และ 6) การประเมินผลความพึงพอใจ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2565). สรุปจำนวนชมรมผู้สูงอายุปี 2564 (สมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย). จาก https://www.dop.go.th/th/implementaion/5/14/1423.

จามรี พระสุนิล, เบญจมาศ เมืองเกษม, และ ณรงค์ เจนใจ. (2562). การสร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้จากทุนชุมชนในวิทยาลัยผู้สูงอายุตำบลเวียงเหนือ อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย. วารสารวิจัยราชภัฏธนบุรีรับใช้สังคม, 5(1), 53-63.

นริศรา ศรีสุพล. (2563). นาฏยประดิษฐ์ : ลีลาสาวอีสานลำเพลิน. วารสารมนุษยสังคมศิลปาสาร, 2(1), 41-55.

ปัญจพจน์ วิมลรัตนชัยศิริ. (2563). การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมและไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุตำบลสามชุก อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี, 3(2), 52-75.

พิชิต ทองชิน และ ฉลาด ส่งเสริม. (2566). หมอลำหมู่สังวาทอุบล: การก่อตัวและกระบวนเล่นศิลปะการแสดงจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารพัฒนศิลป์วิชาการ, 7(1), 24-39.

เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ. (2549). 127 ท่ากายบริหารแบบไทยท่าฤๅษีดัดตน. นนทบุรี: ศูนย์พัฒนาตำราการแพทย์แผนไทย มูลนิธิการแพทย์แผนไทยพัฒนา.

ภักศจีภรณ์ ขันทอง. (2567). การฟื้นฟูผู้สูงอายุสำหรับแพทย์แผนไทย. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ:

รสสุคนธ์ อ้มเถื่อน, ระพีพันธ์ ศิริสัมพันธ์, และ รังสรรค์ สิงหเลิศ. (2565). การสร้างสรรค์หมอลําเพลินร่วมสมัยจากฮูปแต้มวรรณกรรมสังข์สินไซ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 9(5), 511-524.

วิชญ์ บุญรอด, และ ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์. (2566). รูปแบบกิจกรรมการละเล่นดนตรีพื้นบ้านสำหรับผู้สูงอายุโดยเน้น การมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะที่ยั่งยืน. วารสารวิจยวิชาการ, 6(6), 173-194.

สัญชัย ห่วงกิจ. (2563). โครงการการส่งเสริมการจัดตั้งชมรมออกกำลังกายผู้สูงอายุในชุมชน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(1),238-245.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2560). ดัชนีพฤฒพลังผู้สูงอายุไทย. เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัลพับลิเคชั่น จำกัด. กรุงเทพฯ:

อมรรัตน์ นธะสนธิ์, ภักศจีภรณ์ ขันทอง, และ อนัญญา เดชะคำภู. (2563). ผลการออกกำลังกายด้วยฤๅษีดัดตนต่อภาวะโภชนาการและคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุ. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 26(1), 90-106.

อัครวัตร เชื่อมกลาง และ ศักดิ์ชัย หิรัญรักษ์. (2564). อีสานสวีท : ผลงานสร้างสรรค์จากทำนองเพลงพื้นบ้านสำหรับวงซิมโฟนิก. วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์, 8(1), 184-250.

อัศนี วันชัย, นันทา พิริยะกุลกิจ, กัลยา ศรีมหันต์. (2563). ประสบการณ์การตัดสินใจเข้าร่วมและไม่เข้าร่วมกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในเขตเมือง: การวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 13(1), 116-128.

Cornish, F., Breton, N., Moreno-Tabarez, U., Delgado J., Rua, M., de-Graft Aikins, A., & Hodgetts D. (2023). Participatory action research. Nature Reviews Methods Primers, 3(1), 34.

Fernandes, J. B., Domingos, J., Família, C., Veríssimo, J., Castanheira, P., Menezes, C., Vicente, C., Santos, C., Marvão, E., Coelho, J., Mestre, J., Teodoro, J., Saraiva, J., Cavaco, M., Sousa, N., & Godinho, C. (2023). Adapted Portuguese folk dance intervention for subacute rehabilitation post-stroke: study protocol. Frontiers in public health, 11, 1200093.

Khanthong, P., Dechakhamphu, A., & Natason, A. (2022a). Effect of Ruesi Dadton on vital capacity, flexibility and range of motion in healthy elderly individuals. Science, Engineering and Health Studies, 16, 22050003.

Khanthong, P., Sriyakul, K., Dechakhamphu, A., Krajarng, A., Kamalashiran, C., & Tungsukruthai, P. (2021). Traditional Thai exercise (Ruesi Dadton) for improving motor and cognitive functions in mild cognitive impairment: A randomized controlled trial. Journal of Exercise Rehabilitation, 17(5), 331-338.

Khanthong, P., Chaiyasat, C. and Danuwong, C. (2022b), "Lessons learnt from CBR practice at Hua Don Primary Health Care, Thailand", Journal of Health Research, 36(3), 417-427.

Mishra, S. S., & Shukla, S. (2022). Effect of Indian folk-dance therapy on physical performances and quality of life in elderly. Biomedical Human Kinetics, 14(1), 244-251.

Pacheco, E., Hoyos, D. P., Watts, W. J., Lema, L., & Arango, C. M. (2016). Feasibility study: Colombian Caribbean folk dances to increase physical fitness and health-related quality of life in older women. Journal of Aging and Physical Activity, 24(2), 284-289.

Tomioka, K., Kurumatani, N., & Hosoi, H. (2017). Positive and negative influences of social participation on physical and mental health among community-dwelling elderly aged 65-70 years: A cross-sectional study in Japan. BMC geriatrics, 17(1), 111.

Torut, B., & Pongquan, S. (2012). Impact of the elderly club on the social well-being of the rural elderly in the northeastern region of Thailand. Poverty & Public Policy, 4(3), 58-78.

Wang, S., Yin, H., Meng, X., Shang, B., Meng, Q., Zheng, L., Wang, L., & Chen, L. (2020). Effects of Chinese square dancing on older adults with mild cognitive impairment. Geriatric nursing (New York, N.Y.), 41(3), 290-296.