การพัฒนาตัวชี้วัดภาวะผู้นำในภาวะวิกฤตของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Main Article Content

วทันยา อ่ำพันธ์
อัจฉรา นิยมาภา
พรเทพ รู้แผน

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาตัวชี้วัดภาวะผู้นำในภาวะวิกฤตของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) ตรวจสอบความสอดคล้องตัวชี้วัดภาวะผู้นำในภาวะวิกฤตของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 3) นำเสนอแนวทางการประเมินตัวชี้วัดภาวะผู้นำในภาวะวิกฤตของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้น
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ เป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสอบถามและ
แบบประเมินความเหมาะสม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตฐาน และสถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการศึกษาพบว่า
1) ตัวชี้วัดภาวะผู้นำในภาวะวิกฤตของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 15 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1) การเข้าถึงปัญหา ประกอบด้วย
2 ตัวชี้วัด 2) การสื่อสาร ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด 3) การปรับตัว ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด 4) การพลิกวิกฤต ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด 5) การให้คำปรึกษา ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด 6) การเสริมพลัง ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด 7) การพัฒนานวัตกรรม ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด 2) การตรวจสอบความตรงโครงสร้างเชิงเส้นของโมเดลตัวชี้วัดภาวะผู้นำในภาวะวิกฤตของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) แนวทาง
การประเมินตัวชี้วัดภาวะผู้นำในภาวะวิกฤตของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานตามตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก

Article Details

How to Cite
อ่ำพันธ์ ว. ., นิยมาภา อ. ., & รู้แผน พ. (2025). การพัฒนาตัวชี้วัดภาวะผู้นำในภาวะวิกฤตของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 7(1), 188–202. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/art/article/view/283854
บท
บทความวิจัย

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2566). แนวทางการดำเนินการเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับสถานประกอบการ. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์

คมกริช บุญพรม และประยุทธ ชูสอน. (2562). ได้ศึกษาตัวชี้วัดทักษะภาวะผู้นำด้าน SOFT SKILLS ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาของโรงเรียนชายขอบ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 25(1), 95-114.

ชัยธวัช เนียมศิริ. (2560). ประสิทธิภาพบทบาทภาวะผู้นำท้องถิ่นในยุคไทยแลนด์ 4.0 ของอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์. ราชภัฏเพชรบูรณ์สาร, 23(2), 23-35.

ตรีนุช ไพชยนต์วิจิตร และสรัลชนา ธิติสวรรค์. (2565). ผลกระทบการแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อการศึกษา. สืบค้น 5 พฤศจิกายน 2567. จาก

http://www.eco.ru.ac.th/images/document/article/TreeNut/publish02-02.pdf.

ธีระพันธ์ พวงจำปี. (2559). ลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาที่พึงมี. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลริสเรล : สถิติวิเคราะห์สาหรับการวิจัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิริยา นิวาสานนท์ และจิรศักดิ์ สุรังคพิพรรธน์. (2565). ทักษะการบริหารสถานศึกษาในภาวะวิกฤติของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 4(2), 141–150.

ยุทธพงษ์ จักรคม และวิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2566). บทบาทภาวะผู้นำในการจัดการภาวะวิกฤตใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา. วารสารการเมืองการปกครอง, 13(2), 1-19. ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2554). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.

ศุภมาส พันธ์เชย. (2564). วัคซีนโควิด คือ ความหวังของการยุติการระบาด. Krabi Medical Journal, 4(1), 63-81.

ศูนย์ความปลอดภัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2566). แผนการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2565). จำนวนผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565. สืบค้น 5 พฤศจิกายน 2567. จาก http://www.bopp.go.th/?page_id=3860

Alkhawlani, Mohammed. A. S. (2016). The impact of the leadership styles on crisis management: A study at Yemen private and public institutions. International Journal of Business and Social Science, 7(9), 126-136.

Balasubramanian, S., & Fernandes, C. (2022). Confirmation of a crisis leadership model and its effectiveness: Lessons from the COVID-19 pandemic. Cogent Business & Management, 9(1), 2022824. https://doi.org/10.1080/23311975.2021.2022824

Bartsch et al. (2021). Expanding infrastructure and growing anthropogenic impacts along Arctic coasts. ENVIRONMENTAL RESEARCH, 16(2021) 115013. https://doi.org/10.1088/1748-9326/ac3176

Best. W. John. (1997). Research in Education. Boston MA.: Allyn and Bacon.

Carkhuff & Berenson. (1977). Beyond Counseling and Therapy. Canadian Journal of Counselling and Psychotherapy, 12(3), 25-51.

Chatzipanagiotou, P. and Katsarou, E. (2023). Crisis Management, School Leadership in Disruptive Times and the Recovery of Schools in the Post COVID-19 Era: A Systematic Literature Review. Education Sciences, 13(2), 118. DOI:10.3390/educsci13020118

Covello. (1995). Risk communication paper, Opening the black box risk conference.

Eisinga, Grotenhuis & Pelzer. (2012). The reliability of a two-item scale: Pearson, Cronbach, or Spearman-Brown?. National Library of Medicine, 58(4), 637-642. doi: 10.1007/s00038-012-0416-3.

Gomez-Trujillo and Gonzalez-Perez. (2022). Digital transformation as a strategy to reach sustainability. Smart and Sustainable Built Environment, 11(4), 1,137-1,162. DOI: 10.1108/SASBE-01-2021-0011.

Kellerman, K. (1999). Case and the ECP revisited: reply to Kellerman and Yoshioka (1999). Second Language Research, 16(3), 267-280.

Long. (2001). Seven Needless Sins of Crisis (Mis) management. New York: Harcourt, Brace and World.

Mills, Albert J. (2005). Reading Organization Theory: Critical Approaches to the Study of Behaviour and Structure in Organizations. Toronto: Garamond Press.

Odumeru, J.A. and Ogbonna, I.G. (2013). Exploring the Link between Organizational Learning and Transformational Leadership: A Review. Open Access Library Journal, 8(5), 100-120.

Richard K. Long. (2001). The role of technology in transforming leadership management practices. Multidisciplinary Reviews, 7(4), 155-170. https://doi.org/10.31893/ multirev.2024066

Striteska, M.K., & Prokop, V. (2020). Dynamic Innovation Strategy Model in Practice of Innovation Leaders and Followers in CEE Countries. A Prerequisite for Building Innovative Ecosystems. Sustainability, 12(3918), 1-12.