การตลาดเชิงเนื้อหาหยาบคายและตลก บนสื่อสังคมออนไลน์ ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค กรณีศึกษาการขายสินค้าออนไลน์ของพิมรี่พาย

Main Article Content

คัมภีร์ วงศ์ศรีทรายงาม
คุณกร วรญาณอรห์
ปุณยวัจน์ อินทร์จันทร์
กิตติมา แสงทรัพย์
ทัชชกร สัมมะสุต

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การตลาดเชิงเนื้อหาหยาบคายและตลก บนสื่อสังคมออนไลน์ ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค กรณีศึกษาการขายสินค้าออนไลน์ของพิมรี่พาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ กลุ่มผู้ที่เคยตัดสินใจซื้อสินค้าของพิมรี่พาย จำนวนตัวอย่าง 404 คน ใช้เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถาม เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์สถิติในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ


          ผลการวิจัยพบว่า การตลาดเชิงเนื้อหาที่หยาบคายและตลก ด้านการให้ความเป็นเอกลักษณ์ ด้านการให้ความรู้ ด้านการให้แรงบันดาลใจ และด้านการโน้มน้าวใจ ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของพิมรี่พาย อย่างมีระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ทั้งนี้ผลการศึกษาทำให้ทราบว่าการตลาดเชิงเนื้อหาหยาบคายและตลกมีประโยชน์ต่อธุรกิจ สามารถนำไปวิเคราะห์หรือวางแผนเพื่อให้ดำเนินงานสอดคล้องกับที่เป้าหมายของธุรกิจจนนำไปสู่การตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค

Article Details

How to Cite
วงศ์ศรีทรายงาม ค. ., วรญาณอรห์ ค. ., อินทร์จันทร์ ป. ., แสงทรัพย์ . ก. ., & สัมมะสุต ท. . (2024). การตลาดเชิงเนื้อหาหยาบคายและตลก บนสื่อสังคมออนไลน์ ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค กรณีศึกษาการขายสินค้าออนไลน์ของพิมรี่พาย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 14(1), 106–113. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/ajpbru/article/view/266500
บท
บทความวิจัย

References

พรูเด็นเชียล. การใช้โซเชียลมีเดียและสุขภาพจิต [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักงาน; [เข้าถึงเมื่อ 18 พ.ย 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.prudential.co.th/corp/prudential-th/th/about-prudential-thailand/.

กรุงเทพธุรกิจ. เปิดสถิติคนไทยใช้ 'โซเชียลมีเดีย' อันดับ1ของโลก [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักงาน; 2564. [เข้าถึงเมื่อ 18 พ.ย 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/958161.

Nipa. สร้าง Content Marketing ให้มีคุณค่าเพื่อเพิ่มมูลค่าให้ธุรกิจ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักงาน; 2565. [เข้าถึงเมื่อ 19 พ.ย 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://nipa.co.th/th/article/digital-marketing/.

อัษฎาพร วงษ์พิพัฒน์พันธ์. ความตระหนักรู้ในตราสินค้าความสอดคล้องกับตนเองความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะสื่อสังคมออนไลน์ และความพึงพอใจที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อน้ำหอมแบรนด์เนมของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 25 มกราคม 2566]. เข้าถึงได้จาก http://dspace.bu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/4364/1/atsadaporn_wong.pdf.

ไทยโพสต์. ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดตลาด E-commerce ในปี 65 มีมูลค่าราว 5.6 แสนล้านบาท. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 29 ธันวาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thaipost.net/economy-news/95153/.

Starfish Academy. ชี้ช่องทาง…แหล่งขายของออนไลน์ที่ใครๆก็อยากขาย. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 9 ธ.ค 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.starfishlabz.com/blog/409

Jan. ‘พิมรี่พาย’ ตอบทุกอย่าง เบื้องหลัง Live 100 ล้าน ทำไมทำคอนเทนต์ช่วยสังคม ‘จากผู้รับเปลี่ยนเป็นผู้ให้’. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 9 ธันวาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.brandbuffet.in.th/2021/12/pimrypie-interview-with-woody/.

อรวรรณ บัณฑิตกุล. “พิมรี่พาย” ผู้ขายทุกอย่าง. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 9 ธันวาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://marketeeronline.co/archives/244294

Sanook. ประวัติ "พิมรี่พาย" แม่ค้าออนไลน์สุดแซ่บ เน็ตไอดอลรุ่นใหม่ที่ให้อะไรกับสังคม. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 9 ธันวาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.sanook.com/campus/1403047/

Nunnally JC. An overview of psychological measurement. Clinical diagnosis of mental disorders: A handbook. 1978:97-146.

ชลติกานต์ ทิศเสถียร. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านเฟซบุ๊กของผู้บริโภค ระหว่างสถานการณ์โควิด-19 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพ [ อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 25 ม.ค 2566]. เข้าถึงได้จาก http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/5130/1/chontikan_tits.pdf

ประอรนุช หงษ์ทอง, ไพลิน ทรัพย์อุดมผล และรักเกียรติ หงษ์ทอง. ปัจจัยอุปสงค์ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้า และบริการออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี [ อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 25 มกราคม 2566]. เข้าถึงได้จาก https://so06.tcithaijo.org/index.php/dhammathas/article/download/248393/168992

ธีระศักดิ์ ทรัพย์ประเสริฐ, อภิชยา นิเวศน์, พงศกร เอี่ยมสอาด, รักเกียรติ โรจน์กัญญาพ, อดิศัย วรรธนะภูติ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ในยุคนิวนอร์มอลของผู้บริโภคจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ 9 ฉบับที่ 3. 2565; 145-162.

กนกณภัทร แก้วยา.ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าทางออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล [อินเทอร์เน็ต]. 2562. [เข้าถึงเมื่อ 25 มกราคม 2566]. เข้าถึงได้จาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/mmm24-1/6014133071.pdf

Uppercuz. เจาะ 5 แนวทางความสำเร็จของการตลาดแบบ“พิมรี่พาย” [ อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักงาน; จตุจักร. 2563.

สุจรรยา น้ำทองคำ. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคทางสื่อออนไลน์. [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์; 2558.

Esch FR, Langner T, Schmitt BH, Geus P. Are brands forever? How brand knowledge and relationships affect current and future purchases. Journal of product & brand management. 2006 Feb 1; 15(2):98-105.

Ismail K. The Importance of Consumer Education in Today's Data-Driven Purchasing Journey. [Internet]. 2020 [cited 2023 January 5]. Available from:https://www.cmswire.com/content-marketing/the-importance-of-consumer-education-in-todays-data-driven-purchasing-journey/

เจาะ 5 แนวทางความสำเร็จของการตลาดแบบ “พิมรี่พาย” [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 25 ม.ค 2566]. เข้าถึงได้จาก https://uppercuz.com/blog/5-ways-pimrypie-success/

ปวีณ์สุดา เหนือคลอง, ปาริชาติ แก้วนวน, พัชวรรณ ด้วงสุข, สมิทธ์ชาต์ พุมมา, อลิสา คุ่มเคี่ยม. การใช้ภาษาในการพูดเพื่อสร้างแรงบันดาลใจของฌอน บูรณะหิรัญ 2562; การประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณ์วิจัย” ครั้งที่ 11:1-8.

รุ้งทอ เนตรสืบสาย. การสื่อสารการตลาดเชิงเนื้อหาบนเว็บไซต์ร้าน SHUGAA ที่มีผลต่อการ ตัดสินใจของลูกค้าที่ซื้อเค้กฟองดองท์ ผ่านเว็บไซต์ www.shugaaordercake.com [การค้นคว้าอิสระ]. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ; 2561.

วิริยวิศศ์ มงคลยศ. กลวิธีการนำเสนอและการใช้ภาษาของโฆษณาเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพประเภทฟังก์ชันนัลดริงก์ในสื่อเฟซบุ๊ก [วิทยานิพนธ์]. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2560.

Berkman HW, Lindquist JD, Sirgy MJ. Consumer behavior: Concepts and marketing strategy. Lincoln wood, IL: NTC Business Books. 1997.