การเห็นคุณค่าแห่งตนของวัยรุ่นตอนต้นเพื่อรับมือการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสาระสำคัญ เกี่ยวกับการสร้างคุณค่าแห่งตนเพื่อรับมือการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ในบริบทของวัยรุ่นตอนต้นในสถานศึกษา ซึ่งเป็นวัยที่มีสถิติการถูกข่มเหงรังแกบนโลกออนไลน์อยู่ในระดับสูง ทั้งการถูกทำร้ายผ่านการสื่อสารที่หยาบคายเหยียดหยามเจตนาร้าย แพร่กระจายข้อมูลเป็นเท็จ แพร่กระจายความเกลียดชัง ใช้คำหยาบคายเรียกแทนชื่อบุคคล แพร่กระจายข้อมูลที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล หรือแม้กระทั่งคุกคามตามติดข้อมูลอันเป็นส่วนตัวบนโลกอินเทอร์เน็ต โดยในฐานะบุคลากรทางการศึกษา
การสร้างคุณลักษณะการเห็นคุณค่าแห่งตน (Self-Esteem) ให้นักเรียนผ่านกระบวนการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมกลุ่ม หรือ
การให้คำปรึกษาถือเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันที่เหมาะสมในการรับมือการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ให้กับนักเรียนตามรายละเอียดข้างต้น
ซึ่งในการพัฒนาการเห็นคุณค่าแห่งตนสามารถทำได้ผ่านการบูรณาการทฤษฎีจิตวิทยาการให้คำปรึกษา ดังนั้น ในบทความนี้จึงนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายและความสำคัญของการเห็นคุณค่าแห่งตน ความหมายของการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ ทฤษฎีจิตวิทยาเพื่อบูรณาการกับการจัดการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างการเห็นคุณค่าแห่งตนเพื่อรับมือการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความนี้ยังไม่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารใดมาก่อน และไม่อยู่ระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
บทความที่ลงพิมพ์เป็นข้อคิดเห็น/แนวคิด/ทัศนคติของผู้เขียนเท่านั้น หากเกิดผลทางกฎหมายใดๆที่อาจ
เกิดขึ้นจากบทความนี้ ผู้เขียนจะเป็นผู้รับผิดชอบ และบทความนี้เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารเท่านั้น
References
เบญจพร ตันตสูติ. เมื่อลูกถูกแกล้ง. กรุงเทพฯ: พราว โพเอท; 2562.
สกล วรเจริญศรี. การข่มเหงรังแก. กรุงเทพฯ: สารานุกรมศึกษาศาสตร์; 2559.
Corey G. Theory and Practice of Counseling and Psychotherapy. Boston: Cengage; 2017.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. วัยรุ่นกับความรุนแรง. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิชาการสำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ; 2553.
Psikologi F and Malang UM. Group Reality Therapy to Increase Self-Esteem in Adolescents. [internet]. 2017 [cited 10 April 2022]. Available from https://www.researchgate.net/publication/323179462_Group_Reality_Therapy_to_Increase_Self- Esteem_in_Adolescents
Brito CC and Oliveira MT. Bullying and self-esteem in adolescents from public schools. [internet]. 2013. [cited 5 April 2022]. Available from https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0021755713001599
สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ แนวทางการดูแลช่วยเหลือวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมความรุนแรง. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีน่าดู มีเดียพลัส จำกัด; 2556.
สุรางค์ โค้วตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2559.
สกล วรเจริญศรี. การแนะแนวเพื่อพัฒนาคุณค่าแห่งตน จากแนวคิด ทฤษฎีสู่การปฏิบัติเพื่อการพัฒนาผู้เรียน. กรุงเทพฯ: แดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น. 2558.
Cherry K. Signs of Healthy and Low Self-Esteem. [internet]. 2019 [cited 30 December 2021]. Available from https://www.verywellmind.com/what-is-self-esteem-2795868/
Cuncic A. The Psychology of Cyberbullying. [internet]. 2020 [cited 30 December 2021]. Available from https://www.verywellmind.com/the-psychology-of-cyberbullying-5086615/
อภิชา แดงจำรูญ. ทักษะชีวิต. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2563.
ป.อ.ปยุตโต. อิทธิบาท 4: ทางแห่งความสำเร็จ. [อินเทอร์เน็ต]. 2525 [เข้าถึงเมื่อ 5 เมษายน 2565] เข้าถึงได้จาก. https://shorturl.asia/9m8dT
Thomson RA. Counseling Techniques. New York: Routledge; 2016.
วัชรี ทรัพย์มี. ทฤษฎีให้บริการปรึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2554.
Corey G. Theory and Practice of Counseling and Psychotherapy. Boston: Cengage; 2017.