การยอมรับการเรียนภาษาอังกฤษผ่านอีเลิร์นนิงของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19

Main Article Content

เจษฎารัตน์ กล่ำศรี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของ 1) การรับรู้ถึงความง่ายต่อการรับรู้ถึงประโยชน์ในการเรียนภาษาอังกฤษผ่านอีเลิร์นนิง 2) การรับรู้ถึงประโยชน์ต่อทัศนคติในการเรียนภาษาอังกฤษผ่านอีเลิร์นนิง 3) การรับรู้ถึงความง่ายต่อทัศนคติในการเรียนภาษาอังกฤษผ่านอีเลิร์นนิง และ 4) ทัศนคติต่อความตั้งใจในการเรียนภาษาอังกฤษผ่านอีเลิร์นนิง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จำนวน 400 ราย ได้มาจากการวิธีการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจงและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย


ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ถึงความง่ายมีอิทธิพลเชิงบวกต่อการรับรู้ถึงประโยชน์ในการเรียนภาษาอังกฤษผ่านอีเลิร์นนิง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 การรับรู้ถึงประโยชน์และการรับรู้ถึงความง่ายมีอิทธิพลเชิงบวกต่อทัศนคติที่มีต่ออีเลิร์นนิง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.01 นอกจากนั้นทัศนคติมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจในการเรียนภาษาอังกฤษผ่านอีเลิร์นนิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Article Details

How to Cite
กล่ำศรี เ. . (2023). การยอมรับการเรียนภาษาอังกฤษผ่านอีเลิร์นนิงของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 13(1), 14–25. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/ajpbru/article/view/260059
บท
บทความวิจัย

References

Open Development Thailand. COVID-19 ในประเทศไทย. [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ; 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://thailand.opendevelopmentmekong.net/th/news/thai-government-planning-more-economic -stimulus-packages/

กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. ผลกระทบด้านการศึกษาในช่วงภาวะวิกฤตโควิด-19. [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพ; 2564

[เข้าถึงเมื่อ 20 มกราคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://www.eef.or.th/article1-02-01-211/

Coombs WT. Ongoing Crisis Communication Planning Managing and Responding. 4th ed. California: SAGE Publications Inc; 2015.

Wang SY, Wu CM, Wang YH. Investigating the Determinants and Age and Gender Differences in the Acceptance of Mobile Learning. British Journal of Educational Technology 2009; 40 (1): 92-118.

Davis FD, Bagozzi RP, Warshaw PR. User Acceptance of Computer Technology: A Comparison of Two Theoretical Models. Management Science 1989; 35(8): 982-1003.

Ajzen I, Fishbein M. Understanding Attitudes and Predicting Social Behavior. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall; 1980.

ชีวรัตน์ ชัยสำโรง. การยอมรับเทคโนโลยีการเรียนภาษาผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารระบบสารสนเทศด้านธุรกิจ 2562; 5(2): 25-42.

Sanchez RA, Hueros AD. Motivational Factors that Influence the acceptance of Moodle using TAM. Computers in Human Behavior 2010; 26(6): 1632-1640.

ภัทราวดี วงศ์สุเมธ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลตอการยอมรับและการใช้งานระบบการเรียนผ่านเว็บ. [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ; 2556.

ปัทมา ชูวงศ์. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเรียนภาษาอังกฤษทางเฟซบุ๊ก, การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2558; 9 มิถุนายน 2558; คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพฯ: 2558. 74-88.

ธกรกฤษ ออมศิริ, สุทธาวรรณ จีระพันธุ. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเรียนภาษาอังกฤษด้วยระบบอีเลิร์นนิง. [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย; 2559 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://www.utccmbaonline.com/ijbr/doc/(Edit)Id38-901-05-2016_15:37:37.pdf.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. [อินเทอร์เน็ต]. 2542 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://person.mwit.ac.th/01Statutes/ NationalEducation.pdf.

อุษณีย์ ศรีจันทร์, กันต์ ธีระพงษ์. รัฐบาลไทยอยู่ตรงไหนในมิติใหม่แห่งการศึกษา. [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://tdri.or.th/2021/12/life-long-learning-policy/.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี พ.ศ. 2561 – 2580. [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://op.chandra.ac.th/plan/images/pdf/plan20yrs%20education %2061-80.pdf.

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. (2562). ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579). [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://plan.pbru.ac.th/detail.php?id=187&St=B.

กระทรวงศึกษาธิการ. นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2564-2565. [อินเทอร์เน็ต]. 2564

[เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://moe360.blog/2021/06/30/education-management-policy/.

สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี แบบสำรวจข้อมูลการศึกษา. [อินเทอร์เน็ต]. 2562. [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://acad.pbru.ac.th/pdf/acad/NumberOfSTD/2563.pdf.

Yamane T. Statistics: An introductory analysis. 18th ed. New York: Harper and Row Harvard; 1973.

กัลยา วานิชย์บัญชา. การวิเคราะห์สถิติเพื่อการตัดสินใจ. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2544.

ธีระ กุลสวัสดิ์. การยอมรับอีเลิรนนิงของนิสิตระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal 2557; 7(1): 308-320.

พิมพร วัฒนากมลกุล, มโนรัตน์ สมคะเนย. การพัฒนาทักษะการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาจีนโดยการใช้เกมส์ผ่านแอปพลิเคชัน. วารสารการวิจัยและการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2564; 13(1): 98-109.